มิติใหม่การบริหารจัดการการท่องเที่ยวท้องถิ่น : กรณีศึกษา องค์การบริหารส่วนตำบลเขาคราม อำเภอเมือง จังหวัดกระบี่

Authors

  • ทัศนียา บริพิศ สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

Keywords:

การบริหารจัดการท่องเที่ยวท้องถิ่น, management of local tourism

Abstract

การวิจัยนี้เป็นการศึกษาองค์การบริหารส่วนตำบลเขาคราม อำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ เป็นหน่วยงานที่มีชื่อเสียงในการบริหารจัดการท่องเที่ยวอย่างเป็นรูปธรรม ในปัจจุบันคือ คลองท่าปอม ผู้วิจัยจึงศึกษากรอบมิติใหม่ในการบริหารจัดการให้เกิดความเปลี่ยนแปลงโดยสิ่งที่นักวิจัยต้องการศึกษาคือการสร้างกรอบมิติใหม่ 2 มิติ คือ มิติที่ 1. ด้านโครงสร้างการบริหารอบต. มิติที่ 2 การบริหารการจัดการท่องเที่ยวท้องถิ่น เพื่อให้รองรับกับการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน วิธีการวิจัย การศึกษาเอกสาร (Documentary Research)และการวิเคราะห์เอกสาร ผลการศึกษาวิจัย ผลการศึกษา มิติที่ 1 โครงสร้างองค์กรสร้างตำแหน่งงานเพิ่ม มิติที่ 2 ขีดความสามารถหรือศักยภาพในการรองรับนักท่องเที่ยว พื้นที่ 500ตารางกิโลเมตร = รองรับได้ 50,000 คน การควบคุมจำนวนนักท่องเที่ยว การจัดพื้นที่ (Zoning) ทางการท่องเที่ยว การจัดโครงสร้างพื้นฐานทางการท่องเที่ยว การจัดกิจกรรมต่างๆของท้องถิ่นเพื่อการปรับปรุงพื้นที่ท่องเที่ยว

New Dimension to the Management of Local Tourism : Study Khaokram Sub-district, Muang, Kabi Province. The purpose of this research was to study Tambon Khao Kram, Amphur Muang, Krabi. An agency with a reputation management is now a substantial tourist Tha Pom Klong Our objective was to study a new framework for change management. By what researchers want to study is to establish a new framework is the 2D, one dimension. Top management structure. Two - dimensional local tourism management. In order to accommodate a change in the current method of study documents (Documentary Research) and document analysis. The study results demonstrate that one - dimensional structure created jobs added. The two - dimensional capacity or potential to accommodate up to 500 square kilometers = 50,000 people to control the number of visitors. Disposal Area (Zoning) to the park. The tourism infrastructure The activities of local authorities to improve the tourist areas.

Downloads

How to Cite

บริพิศ ท. (2015). มิติใหม่การบริหารจัดการการท่องเที่ยวท้องถิ่น : กรณีศึกษา องค์การบริหารส่วนตำบลเขาคราม อำเภอเมือง จังหวัดกระบี่. Asian Journal of Arts and Culture, 15(1), 83–94. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/cjwu/article/view/95356