Developing Analytical Thinking and Learning Achievement of Social Studies, Religion and Culture Subjects of Matthayomsuksa 4 Students by Using Inquiry Method

Main Article Content

เกรียงไกร กิติยศ
สุดาพร ปัญญาพฤกษ์
เพ็ญพิศุทธิ์ ใจสนิท

Abstract

The purpose of this study was to investigate students’ development in analytical
thinking, learning achievement, and opinion towards Social Studies subject using
inquiry-based learning as a means of instruction. The population was mattayom 4 students
of Maechai Wittayakhom School under Secondary Educational Service Area Offce 36 (Chiang RaiPhayao). The research instruments were: 1) inquiry-based lesson plan; 2) analytical
thinking test; 3) Social Studies achievement test; and 4) questionnaire investigating opinion
towards Social Studies subject. The data was analyzed using mean and t-test. The fndings
showed that analytical thinking mean score and learning achievement of Social Studies
subjects of students who were in the class using inquiry-based learning were higher than
students in normal class at the signifcant level of .001. This concurred with the set
hypothesis at the signifcant level of .05. Students in inquiry-based learning class showed
higher mean score of opinion towards Social Studies subject than students in normal class
at the signifcant level of .05.

Article Details

Section
Research Articles

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพฯ: กระทรวงฯ.
_______. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: กระทรวงฯ.
เจียมจิรา ศิริธนานุกูลวงศ์. (2548). ผลการสอนแบบสืบสวนสอบสวนที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
และความคิดสร้างสรรค์ เรื่อง ภูมิศาสตร์กายภาพ ในรายวิชาภูมิเศรษฐศาสตร์ ของนักเรียน
ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ วิทยาลัยเทคนิคสมุทรสงคราม. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร
มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช. สืบค้นจาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ThaiLis Digital
Collection.
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2553). การจัดการเรียนรู้แนวใหม่. นนทบุรี: สหมิตรพริ้นติ้ง.
ปิยมาลย์ ระดามาตย์. (2555). การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สาระประวัติศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้วิธีการเรียนการสอนแบบ
ร่วมมือเทคนิคกลุ่มสืบสวนสอบสวน (GI). (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต).
มหาวิทยาลัยขอนแก่น. สืบค้นจาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ThaiLis Digital Collection.
โรงเรียนแม่ใจวิทยาคม. (2557). แบบบันทึกผลการเรียนประจำรายวิชาหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 โรงเรียนแม่ใจวิทยาคม จังหวัดพะเยา. พะเยา: โรงเรียนฯ.
วันดี เพ็งคำ. (2549). ผลของกิจกรรมประกอบการเรียนแบบร่วมมือเทคนิคกลุ่มสืบสวนสอบสวน
ที่มีต่อความภาคภูมิใจในตนเองและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี.
(วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. สงขลา.
วันทนี เอื้อลักษณ์โอฬาร. (2553). การสร้างชุดการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ
วัฒนธรรมหน่วยการเรียนรู้เรื่องประวัติศาสตร์ไทยสมัยกรุงศรีอยุธยาโดยใช้การเรียนแบบ
สืบสวนสอบสวนสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนชลกันยานุกูล จังหวัดชลบุรี.
(วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา. สืบค้นจาก ฐานข้อมูลงานวิจัย
ThaiLis Digital Collection.
สมคิด เทพนวล. (2554). ผลของการสอนแบบสืบสวนสอบสวนที่มีต่อการคิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย
และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการปกครองระบอบประชาธิปไตยไทยของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดมะลิ กรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร
มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี.
สิริวรรณ ศรีพหล. (2553). การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาการเป็นพลโลก. นนทบุรี: โรงพิมพ์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สิวิภา พัฒน์มณี. (2554). ผลการสอนแบบสืบสวนสอบสวน เรื่อง ประวัติศาสตร์ไทยหลังการ
เปลี่ยนแปลงการปกครองที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิด
วิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนจ่านกร้อง จังหวัดพิษณุโลก.
(วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สืบค้นจาก
ฐานข้อมูลงานวิจัย ThaiLis Digital Collection.
สุทธินี มณีนาค. (2550). ผลการจัดการเรียนการสอนแบบสืบสวนสอบสวนที่มีต่อผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนเรื่อง ภาวะโลกร้อน ในกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเซนโยเซฟ บางนา. (การค้นคว้าอิสระศึกษาศาสตร
มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี.
อมรรัตน์ วงศ์คำ. (2556). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิดวิเคราะห์และเจตคติ
ต่อวิชาประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างการจัดกิจกรรมแบบหมวกหกใบกับ
การจัดกิจกรรมแบบสืบสวนสอบสวน. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม. สืบค้นจาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ThaiLis Digital Collection.