A Study of Teaching Behaviors of Student Teachers in English Teaching Program, Faculty of Education, Rajabhat Rajanagarindra University

Main Article Content

ปวีณา เมืองมูล
นพรัตน์ สรวยสุวรรณ
เทพนคร ทาคง

Abstract

The purposes of this study were 1) to study the teaching behaviors of the student teachers in English Teaching Program, Faculty of Education, Rajabhat Rajanagarindra University 2) to study the opinion of the university supervisors, the mentor, the students and the student teachers in English Teaching Program, Faculty of Education, Rajabhat Rajanagarindra University towards teaching behaviors of the student teachers in English Teaching Program, Faculty of Education, Rajabhat Rajanagarindra University 3) to study the problems of the student teachers in English Teaching Program, Faculty of Education, Rajabhat Rajanagarindra University during the internship period. The data were collected from university supervisors, mentor, students, and student teachers in English Teaching Program, Faculty of Education, Rajabhat Rajanagarindra University. The instruments were questionnaires, interview and observation forms. Questionnaires were statistically analyzed by percentage, mean, and standard deviation. Interview and observation forms were analyzed by content analysis.


            The results of this research revealed that 1) the overall techniques and teaching method behaviors were at high level. The item that got the highest mean score was the student teachers allowed the students to participate in teaching activities. The overall classroom environment management behavior was at high level. The items that got the highest mean score was the student teachers accepted and concerned about students’ outcome. The overall material using behavior was at high level. The items that got the highest mean score was the student teachers produced teaching material by themselves. The overall evaluation and assessment behavior was at high level. The items that got the highest mean score was, aside from the tests designed by them, the student teachers used other additional evaluation instruments 2) the opinions of the university supervisors and mentors stated that student teachers had a great work and good relationship with students. They also suggested that the university should have training project for the student teachers to improve their English skills before the internship 3) the interview has shown that the student teachers had problems in classroom management. Students did not understand some lessons taught by the student teachers, too small classroom, not enough teaching and learning materials, lacking of English language capability of students and using English language of the student teachers in their classes.

Article Details

Section
Research Articles

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2549). แผนยุทธศาสตร์ปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อเพิ่มขีด
ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (พ.ศ. 2549–2553). สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2559,
จาก กระทรวงศึกษาธิการ: http://www.moe.go.th/webstudyenglish/peng_2549-2553.
doc
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2550). วิชาชีพครู. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2559, จาก เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์:
http://www.kriengsak.com/node/544
จันทร์ชลี มาพุทธ. (2553). การเรียนรู้แบบบรูณาการด้วย Storyline Approach. สืบค้นเมื่อ
20 ธันวาคม 2559, จาก มหาวิทยาลัยเชียงใหม่: http://www.pharmacy.cmu.ac.th.pdf
ชยานนท์ มนเพียรจันทร์. (2543). พฤติกรรมการสอนภาษาอังกฤษของครูในโรงเรียนประถมศึกษา
สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดขอนแก่น. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต).
มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น.
ชุติรัตน์ เจริญสุข. (2545). ปัญหาการจัดการเรียนการสอนวิชาการเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพใน
สถาบันราชภัฏหมู่บ้านจอมบึงตามความคิดเห็นของอาจารย์และนักศึกษา. (วิทยานิพนธ์
การศึกษามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กรุงเทพฯ.
ธีระ รุญเจริญ. (2550). ความเป็นมืออาชีพในการจัดและบริหารการศึกษายุคปฏิรูปการศึกษา.
กรุงเทพฯ: แอล.ที.เพรส.
นวพร ชลารักษ์. (2559). สภาพการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษของครูไทยระดับชั้นประถมศึกษา
ปีที่ 6 ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 1.
วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยฟาอีสเทิร์น, 10(2), 130 - 141.
ปนัดดา อามาตร. (2560). ปัญหาและแนวทางแก้ไขการจัดการ1เรียนการสอนของโรงเรียนขยายโอการ
ทางการศึกษาในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2.
(วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. บุรีรัมย์.
ปราณี อมรรัตนศักดิ์. (2542). ปัญหาและอุปสรรคของการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในมหาวิทยาลัย
รามคำแหง. กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ปารณีย์ ขาวเจริญ. (2560). การศึกษาสภาพการนิเทศนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัย
ฟาอีสเทิร์น, 11(1), 99 - 108.
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ. (2542, สิงหาคม 14). ราชกิจจานุเบกษา. แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)
พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553. ตอนที่ 74 ก. หน้า 18.
พัฒนา จันทนา. (2542). พฤติกรรมการสอนของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สาขาวิชาเอก
สังคมศึกษา ภาควิชามัธยมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่:
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ยุดา รักไทย. (2552). การสอนทักษะการฟัง. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2559, จาก https://sites.google.
com/site/uraiwaneng04/kar-sxn-thaksa-kar-fang

วนิดา แสวงผล. (2542). การศึกษาพฤติกรรมการสอนภาษาอังกฤษของครูผู้สอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1.
(วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี.
วัฒนาวรรณ จันทระกุล. (2536). ปัญหาและความต้องการเกี่ยวกับการผลิตและการใช้สื่อการสอนของครู
ผู้สอนภาษาอังกฤษระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จังหวัดขอนแก่น. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร
มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น.
วิไล ตั้งจิตสมคิด. (2554). ความเป็นครู. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2550). กรอบแผนระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551 -
2565). พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สำนักงานฯ.
_______. (2557). สรุปผลการประชุมคณะกรรมการการอุดมศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ:
สำนักงานฯ.
สุรางค์ โค้วตระกูล. (2548). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.