Effect of Learning Management by Using 7E Learning Cycle Model to Develop Analytical Thinking, Learning Achievement, and Scientifc Mind in Biology Subject of Mathayomsuksa 4 Students

Main Article Content

สุภาพร กิติพัฒนเจริญกุล
เพ็ญพิศุทธิ์ ใจสนิท
จิราภรณ์ ปาลี

Abstract

The purpose of this research was to study the effect of learning management by
using 7E learning cycle model to develop analytical thinking ability, learning achievement,
and scientifc mind in Biology subject of mathayom suksa 4 students. The population of
this study was Mathayom Suksa 4 students of Samakkhi Witthayakhom School under the
Secondary Educational Service Area Offce 36. The research instruments were learning plan


using 7E learning cycle model, analytical thinking ability test, achievement test and
scientifc mind test. The data were systematically analyzed by using mean, percentage and
t-test. The results of the study were found that after learning by using 7E learning cycle
model, the average scores of students’ analytical thinking ability, and learning achievement
were higher than students who learnt by using 5E learning cycle model at the statistically
signifcant level of .001. The average score of students’scientifc mind was higher than
students who learnt by using 5E learning cycle model at the statistically signifcant level
of .05.

Article Details

Section
Research Articles

References

กระทรวงศึกษาธิการ. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. สำนักวิชาการและมาตรฐาน
การศึกษา. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: กระทรวงฯ.
ขุนทอง คล้ายทอง. (2554). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาเคมี 1 และความสามารถ
ในการคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัด
การเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิคการแข่งขันระหว่างกลุ่มและแบบวัฏจักรการเรียนรู้
7 ขั้น. (ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กรุงเทพฯ.
จันทร์เพ็ญ เชื้อพานิช. (2549). นวัตกรรมการศึกษาไทย : รูปแบบการเรียนการสอน. ใน นวัตกรรม
การจัดการเรียนรู้ตามแนวปฏิรูปการศึกษา (หน้า 85-88). กรุงเทพฯ: ศูนย์ตำราและเอกสาร
ทางวิชาการ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จารุนันท์ แก้วคุณาการ. (2552). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การเรียนแบบร่วมมือ
แบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) เรื่อง การแก้โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 2 สาขาวิชาคณิตศาสตร์. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ชนาธิป พรกุล. (2554). การสอนกระบวนการคิด : ทฤษฎีและการนำไปใช้. กรุงเทพฯ: วี พริ้นท์.
ธัญชนก โหน่งกดหลด. (2554). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และความสามารถในการคิด
วิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักร
การเรียนรู้ 7 ขั้น และการจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน. (ปริญญานิพนธ์การศึกษา
มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กรุงเทพฯ.
ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. (2551). การพัฒนาการคิด. กรุงเทพฯ: เทคนิคพริ้นติ้ง.
เพ็ญพิศุทธิ์ ใจสนิท. (2555). เอกสารประกอบการสอนรายวิชา การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนา
กระบวนการคิด. เชียงราย: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
ไพฑูรย์ หาญเชิงชัย. (2550). ผลการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น ที่มีต่อทักษะกระบวนทาง
วิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานและเจตคติเชิงวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่
มีเพศต่างกัน. (การศึกษาค้นคว้าอิสระการศึกษามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
มหาสารคาม.
ภัสพล เหง้าโคกงาม. (2548). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์
เรื่อง การขนส่งและการสื่อสาร เจตคติต่อการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และความคิดสร้างสรรค์
ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม
ระหว่างการสอนวิทยาศาสตร์ตามรูปแบบสมองครบส่วน (สคส.) กับการสอนตามคู่มือครู สสวท.
(วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. มหาสารคาม.