DISCOURSE ANALYSIS OF CHINESE STUDENTS’ CHATROOM CONVERSATIONS: A CASE STUDY OF CHIANG RAI RAJABHAT UNIVERSITY

Main Article Content

Chen Jianli
ศรชัย มุ่งไธสง
ณัฏฐพล สันธิ

Abstract

Discourse analysis (DA), or Discourse studies, is a general term for a number of approaches to analyze written, vocal, sign language use or any significant semiotic event. This study aimed at: 1) examining the Sequential Patterns of conversation, 2) investigating the Speech Acts in chatroom conversations of Chinese students in Chiang Rai Rajabhat University (CRRU), with discourse analysis. The participants of this study were 19 sampled Chinese students who joined the International Program at the Faculty of Humanities, Chiang Rai Rajabhat University, Thailand. Chatroom conversations were analyzed based on Conversation Analysis Theory proposed by Sacks, Schegloff, and Jefferson (1974) and Speech Act Theory by Searle (1979).

The results of this study revealed that all Sequential Patterns and Speech Acts occurred in this study: whereas, Turn-taking and Assertives were the most used features of Sequential Pattern and Speech Acts among all the conversations collected, while Preferred and Dispreferred Responses and Declarations were the least appeared features in this study. In summary, this study could be used as guidelines for teachers in teaching computer-mediated discourse and it could also be beneficial for students to acquire the knowledge on how language should be used in communications.

 

การวิเคราะห์ปริเฉทการใช้ห้องสนทนาออนไลน์ของนักศึกษาชาวจีน: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

การวิเคราะห์ปริเฉท (Discourse Analysis) คือกรอบแนวคิดสำหรับการวิเคราะห์สื่อหลายประเภท เช่น ภาษาเขียน ภาษาพูด ภาษาท่าทาง หรือ สัญลักษณ์ต่างๆที่มีนัยเชิงความหมาย การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษารูปแบบต่อเนื่อง ของบทสนทนาและ 2) ศึกษาวัจนกรรมในการใช้ห้องสนทนาออนไลน์ของนักศึกษาชาวจีนของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย (มร.ชร.) โดยมีกลุ่มตัวอย่างคือนักศึกษาชาวจีนที่ศึกษาในโปรแกรมนานาชาติของคณะมนุษยศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงรายจำนวน 19 คน การวิเคราะห์ปริเฉทใช้รูปแบบบทสนทนาต่อเนื่องโดยอิงทฤษฎีการวิเคราะห์บทสนทนาของ Sacks, Schegloff, และ Jefferson (1974) และการวิเคราะห์วัจกรรมอิงทฤษฎีของ Searle (1979).

ผลการวิเคราะห์ปริเฉจพบว่ารูปแบบของการสนทนาแบบต่อเนื่อง (Sequential Patterns) และรูปแบบของวัจนกรรม (Speech Acts) ที่พบมากที่สุดในห้องสนทนาออนไลน์ของนักศึกษาชาวจีนคือการผลัดเปลี่ยนกันพูด (Turn-takings) และวัจนกรรม กลุ่มบอกกล่าว (Assertives) ขณะที่การตอบที่เป็นไปตามคาดและไม่ไปเป็นตามคาดของผู้ถูกปฏิเสธ (Preferred and Dispreferred Responses) และวัจนกรรมกลุ่มแถลงการณ์ (Declarations) พบว่ามีปริมาณน้อยที่สุด การวิเคราะห์ปริเฉทมีประโยชน์สำหรับ ครูผู้สอน โดยครูสามารถนำแนวคิดและรูปแบบการวิคราะห์ปริเฉทไปใช้ในการสอนผู้เรียนเกี่ยวกับรูปแบบการใช้ภาษาสำหรับ การสื่อสารที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อ อีกทั้งตัวผู้เรียนสามารถใช้แนวคิดการวิเคราะห์ปริเฉทเพื่อสร้างองค์ความรู้และความเข้าใจ ด้วยตัวเองเกี่ยวกับรูปแบบของภาษาสำหรับการสื่อสารที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อด้วย

Article Details

Section
Research Articles