An Analysis of Ordinary National Educational Test (O-NET) Used for Prathom 6 Students

Main Article Content

ดวงเดือน เทพยศ
ศรชัย มุ่งไธสง
ณัฏฐพล สันธิ

Abstract

The study is aimed to analyze linguistic features used in Ordinary National Educational Test (O-NET) for Prathom 6 students. The linguistic features embedded in the test were linguistic abilities in speaking, reading, writing, and vocabulary as well as cognitive ability based on Bloom’s Taxonomy. The data source was O-NET tests chosen between the years 2011 and 2013. Content analysis was employed for data analysis. The findings showed that, in speaking part, the speech act function in the highest occurrence was Illocutionary act. The highest frequencies in descending order under this speech act category were Directives, Assertives, Expressives, and Commissives but Declarative was not found. In reading part, two types of reading questions were found including inference and vocabulary in context. In writing part, cohesive devices in sentence completion task used in the highest frequency were Subject - Verb Agreement and Conjunction. In vocabulary part, three types of lexical feature were Word Formations, Word Relations and Multi-word Verbs. Suffix was used in the highest frequency under Word Formations. Synonym was used in the highest frequency under Word Relations. Phrasal verbs were used in the highest frequency under Multi-word Verbs. Interestingly, Word Formations were used in the highest frequency in this O-NET test. Moreover, based on Bloom’s Taxonomy, majority of the test items were categorized under Knowledge level and were found in the highest frequency in Speaking.

The results of this study could contribute to teachers and students in improving their knowledge and understanding of O-NET test. In addition, the findings could encourage their awareness the students to empower their testing abilities. It would contribute to the improvement of English skills for students in achieving higher levels of their study and thus the development of national education.

 

การวิเคราะห์ภาษาที่ใช้ในแบบทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ภาษาที่ใช้ในแบบทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) สำหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ขอบเขตการศึกษาในแบบทดสอบประกอบด้วย 3 ส่วน คือ การพูด (Speaking) การอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) คำศัพท์ (Vocabulary) และ ทักษะพุทธิพิสัยตามทฤษฎีการเรียนรู้ของ Bloom (Bloom’s Taxonomy) แหล่งข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ แบบทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET ปีการศึกษา 2554-2556 การ วิเคราะห์ข้อมูลภาษาใช้กรอบแนวคิดการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)

ผลการวิจัยพบว่า ส่วนที่ 1 การพูด (Speaking) พบการใช้ Illocutionary Act มากที่สุด และพบองค์ประกอบที่เรียงจาก มากไปน้อย ได้แก่ Directives, Assertives รองลงมาคือ Expressives และ Commissives แต่ Declarative ไม่พบในการวิจัย ครั้งนี้ ส่วนที่ 2 การอ่าน (Reading) มีการใช้ประเภทของคำถามที่ใช้ในแบบทดสอบการอ่าน 2 ประเภท คือ Inference และ Vocabulary in Context ส่วนที่ 3 การเขียน จากการวิเคราะห์การเชื่อมคำในประโยค พบ ลักษณะการเชื่อมประโยคที่ปรากฏใน แบบทดสอบ 2 ประเภท คือ Subject - Verb Agreement และ Conjunction ส่วนที่ 4 คำศัพท์ (Vocabulary) พบลักษณะการ ใช้คำศัพท์ 3 ประเภท คือ Word Formations, Word Relations และ Multi-word Verbs ในส่วนของ Word Formations พบ ว่ามีการใช้ Suffix มากที่สุดในประเภท ในส่วนของ Word Relations พบการใช้ Synonym มากที่สุดใน และในส่วนของ Multiword Verbs พบการใช้ Phrasal Verbs มากที่สุดใน ในภาพรวมของการใช้คำศัพท์ Word Formations พบมากที่สุด และผลการ วิเคราะห์ทักษะพุทธิพิสัยตามทฤษฎีการเรียนรู้ของ Bloom ในแบบทดสอบ ผลการวิเคราะห์พบว่าข้อสอบส่วนใหญ่ อยู่ในระดับ ความรู้ ความจำ (Knowledge) และพบมากที่สุดในส่วนของการพูด (Speaking)

ผลการวิจัยสามารถสะท้อนถึงครูผู้สอน และนักเรียนว่าควรมีการพัฒนาความรู้ และความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาที่ใช้ใน แบบทดสอบ ในการช่วยกระตุ้น และสร้างความตระหนักให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาความสามารถด้านทักษะการทำแบบ ทดสอบการศึกษาระดับชาติ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาทักษะทางภาษา และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับสูงต่อไป

Article Details

Section
Research Articles