OLD KANCHANABURI TOWN: AN ARCHAEOLOGICAL STUDY OF NORDER TOWN ARCHAEOLOGY IN THAILAND

Authors

  • Worapoj Hirunyawuttikul Faculty of Archaeology, Silpakorn University

Keywords:

การขุดค้น, กาญจนบุรี, เมืองหน้าด่าน

Abstract

“Old Kanchanaburi Town” was an important town which, as a border town, prevented the Burmese battalions from moving on to Suphanburi town and Ayutthaya. The results of this archaeological study and analysis show that the town has no artificial boundaries but that the natural geographic features were used as defensive lines. The areas of the town were possibly divided into 3 functional areas as follows;

1. The religious area which comprised 4 temples

2. The political area which was composed of a fort and related defensive features

3. The domestic area which was very probably for temporally habitation

The result of researching Old Kanchanaburi Town also show the general land use patterns of the border towns during the Ayutthaya period of historic Thailand.

 

References

กมล ฉายาวัฒนะ. “ใบเสมาในภาคกลางของประเทศไทยระหว่างพุทธศตวรรษที่ 19 – 20” วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2523.

จารึก วิไลแก้ว. “เมืองกาญจนบุรีเก่าและค่ายของกองทัพไทยและพม่าในสงครามทุ่งลาดหญ้าปีมะเส็ง พ.ศ. 2328.” เอกสารสัมมนาประวัติศาสตร์เมืองกาญจนบุรี, กาญจนบุรี: วิทยาลัยครูกาญจนบุรี, 2534.

จารึก วิไลแก้ว. “แหล่งโบราณคดีสมัยลพบุรีในจังหวัดกาญจนบุรี.” ศิลปากร. 31, 3 (ก.ค.- ส.ค., 2530): 28-32.

จารึก วิไลแก้ว เตาแม่น้ำน้อย 2. กรุงเทพฯ: ฝ่ายวิชาการ กองโบราณคดีกรมศิลปากร, 2533.

ดํารงราชานุภาพ, สมเด็จฯ กรมพระยา. ไทยรบพม่า. พระนคร: บรรณาการ,2515.

ตรี อมาตยกุล. นําเที่ยวจังหวัดกาญจนบุรี. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์กรมยุทธศึกษาทหารบก, 2516.

น. ณ ปากน้ำ. “มณฑปวัดห้วยพลู ศิลปสถาปัตยกรรมสมัยอยุธยา ณ เมืองนครชัยศรี,” เมืองโบราณ. 8, 3 (ส.ค. - พ.ย. 2525): 3.

ปริวรรต ธรรมปรีชากร. “การใช้เครื่องถ้วยจีนและเครื่องถ้วยเวียดนามในการกําาหนดอายุหลักฐานทางโบราณคดี และรูปแบบศิลปะ: กรณีศึกษาลวดลายปูนปั้นประดับบนโบราณสถานในประเทศไทยระหว่างพุทธศตวรรษที่ 19 – 24.” วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาโบราณคดี บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2547.

ปริวรรต ธรรมปรีชากร. “เครื่องถ้วยจีน.” ใน เอกสารประกอบการสอนวิชาสัมมนาโบราณคดีจีน 304543, กรุงเทพมหานคร: หลักสูตรปริญญาโทโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์ ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดีมหาวิทยาลัยศิลปากร, 2551.

ปริวรรต ธรรมปรีชากร และคณะ. ศิลปะเครื่องถ้วยในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: โอสถสภา, 2539.

ประทีป เพ็งตะโก. “กระเบื้องเชิงชายสมัยอยุธยา.” วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศิลปากร, 2540.

ประภัสสร์ ชูวิเชียร. “ข้อสันนิษฐานอายุปรางค์ประธานวัดพระธาตุสวนแตง.” เมืองโบราณ. 36, 4 (ต.ค. - ธ.ค. 2553): 97-105.

ประภัสสร์ ชูวิเชียร. “วัดวรเชตุเทพบําารุง: แบบอย่างงานช่างของอยุธยาในพุทธศตวรรษที่ 22.” ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะไทย บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศิลปากร, 2552.

ประภัสสร์ ชูวิเชียร. “สายวิวัฒนาการสองแบบของเจดีย์ทรงปรางค์ในพุทธศตวรรษที่ 21 จากข้อสังเกตส่วนประดับเรือนธาตุ.” ศิลปากร. 52,4 (ก.ค. - ส.ค. 2552): 16-27.

พนรัตน์, สมเด็จพระ. พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์โพธิ์สามต้น, 2515.

พิทยา บุนนาค. เสมา สีมา: หลักสีมาในศิลปะไทยสมัยอยุธยาช่วงหลังเสียกรุงครั้งแรกถึงครั้งหลังและกรุงธนบุรี. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สําานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ, 2551.

มณฑลราชบุรี. สมุดราชบุรี. พระนคร: โรงพิมพ์หนังสือไทย, 2468.

รวมศักดิ์ ไชยโกมินทร์. สงครามประวัติศาสตร์. กรุงเทพฯ: มติชน, 2543.

วรวุธ สุวรรณฤทธิ์. กาญจนบุรีดินแดนตะวันตก. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์, 2545.

วรวุธ สุวรรณฤทธิ์. โบราณคดีและประวัติศาสตร์เมืองกาญจนบุรี. กาญจนบุรี: ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์วิทยาลัยครูกาญจนบุรี สหวิทยาลัยทวารวดี, 2531.

วรวุธ สุวรรณฤทธิ์. ประวัติศาสตร์เมืองกาญจนบุรี. กาญจนบุรี: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบันราชภัฏกาญจนบุรี, 2542.

ศิลปากร, กรม. คําให้การชาวกรุงเก่า คําให้การขุนหลวงหาวัด และพระราชศาวดารกรุงเก่าฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์. พระนคร:คลังวิทยา, 2510.

ศิลปากร, กรม. พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา เล่ม 2. กรุงเทพฯ: คลังวิทยา, 2506.

สุภัทรดิศ ดิศกุล, หม่อมเจ้า. ศิลปะในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2546.

สันติ เล็กสุขุม. เจดีย์: ความเป็นมาและคําศัพท์เรียกองค์ประกอบเจดีย์ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: มติชน, 2535.

สันติ เล็กสุขุม. เจดีย์เพิ่มมุม เจดีย์ย่อมุม สมัยอยุธยา. กรุงเทพฯ: อมรินทร์การพิมพ์, 2529.

สันติ เล็กสุขุม. “ปรางค์ของวัดปรางค์หลวง จังหวัดนนทบุรี กับการกําาหนดอายุ.” เมืองโบราณ. 23, 3 (ก.ค.-ก.ย. 2540): 63-70.

สันติ เล็กสุขุม. ศิลปะอยุธยา: งานช่างหลวงแห่งแผ่นดิน. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ, 2542.

สํานักศิลปากรที่ 2 สุพรรณบุรี. รายงานเบื้องต้นการขุดศึกษาทางโบราณคดีป้อมเมืองกาญจนบุรีเก่า โครงการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองกาญจนบุรีเก่า ตําาบลลาดหญ้า อําาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี, 2552.

สํานักศิลปากรที่ 2 สุพรรณบุรี. รายงานเบื้องต้นการขุดค้น – ขุดแต่งและบูรณะโบราณสถานวิหารหลวงพ่อตะโกสี วัดศรีมหาโพธิ์ ตําบลศรีมหาโพธิ์ อําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม, 2552.

อุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์. เมืองกาญจนบุรีเก่า. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, 2534.

โอวาท โกญจนวรรณ. “การศึกษาป้อมเมืองสงขลาเก่า กิ่งอําาเภอสิงหนครจังหวัดสงขลา.” สารนิพนธ์หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2531.

Downloads