The portraits before the reign of King Rama IV

Authors

  • Papanin Kasettratat Faculty of Archaeology, Silpakorn University

Keywords:

รูปเหมือนบุคคล, ประติมากรรม, รัตนโกสินทร์

Abstract

Sculptures before the reign of King Rama IV are generally selfportraits of monks. They were significant examples of the changes to Thai sculpture from traditional, idolized representative images to the realistic images.

The styles of early portraits (during King Rama II-early King Rama III period) showed human anatomy such as protruding eyebrows, cheekbones, muscles, neck ligaments and clavicle fractures but they still have less detail than the portraits in the late Rama III period. This realistic trend not only exists in Thai sculpture, but also paintings and literature as well.

Despite being created realistically, these types of images serve as an object of worship as the people believed that these sculptures can bless the people who worship them.

 

References

กรมศิลปากร. ตําานานวัดราชสิทธิ. พระนคร: โรงพิมพ์รุ่งเรืองธรรม, 2498.

คณะกรรมการชําาระประวัติศาสตร์ไทยและจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี.ประชุมหมายรับสั่ง ภาค 4 ตอนที่ 1 สมัยรัตนโกสินทร์ รัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว จ.ศ.1186-1203. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการพิจารณาและจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์ สําานักนายกรัฐมนตรี, 2525.

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ, บรรณาธิการ. “ประกาศห้ามไม่ให้ตื่นกันเรื่องกะแปะอัฐโสฬสจะใช้ไม่ได้.” ใน ประชุมประกาศรัชกาลที่ 4. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการ ตําาราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย, 2547.

นฤมล ธีรวัฒน์, ผู้ชําระต้นฉบับ และ นิธิ เอียวศรีวงศ์, บรรณาธิการ. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 1 ฉบับเจ้าพระยาทิพากรวงศ์. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง, 2539.

นฤมล ธีรวัฒน์.พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 2 ฉบับเจ้าพระยาทิพากรวงศ์. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง, 2548.

นิธิ เอียวศรีวงศ์. ชาติไทย, เมืองไทย, แบบเรียนและอนุสาวรีย์: ว่าด้วยวัฒนธรรม, รัฐ และรูปการจิตสําานึก. กรุงเทพฯ: มติชน, 2538.

นิธิ เอียวศรีวงศ์ .ปากไก่และใบเรือ: รวมความเรียงว่าด้วยวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ต้นรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ: อมรินทร์การพิมพ์, 2527.

บัณฑิต ลิ่วชัยชาญ. “ภัยฝรั่ง” สมัยพระนั่งเกล้าฯ. กรุงเทพฯ: มติชน, 2550.

“บทย่อพระอนาคตวงศ์” ใน บําเพ็ญ ระวิน (ผู้รวบรวม), ประชุมพงศาวดารฉบับราษฎร์ ภาค 3 พระอนาคตวงศ์. กรุงเทพฯ: อมรินทร์, 2542.

ปริยัติธรรมธาดา (แพ ตาละลักษณ์), พระยา, ประวัติสุนทรภู่และตําานานเมืองเพชรบุรี. กรุงเทพฯ: กองวรรณคดีและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร, 2533.

ประสาร บุญประคอง. ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 6 ตอนที่ 1: ประมวลจารึกสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ที่พบในภาคเหนือ ภาคตะวันออก และภาคกลาง. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์ สําานักนายกรัฐมนตรี, 2517.

พระประวัติสมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ 19 พระองค์. กรุงเทพฯ: ธรรมสภา, 2543.

ภาณุพงษ์ เลาหสม และชัยยศ อิษฏ์วรพันธุ์. เปลี่ยนพื้น แปลงภาพ ปรับรูป ปรุงลาย: การวิเคราะห์วิธีการออกแบบและวาดจิตรกรรมฝาผนังยุคต้นรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ, 2549.

มณฑล ประภากรเกียรติ. “จิตรกรรมวัดบางแคใหญ่: ภาพบันทึกเหตุการณ์ ประวัติศาสตร์ สมัยรัชกาลที่ 3.” เมืองโบราณ 37, 3 (กรกฎาคม-กันยายน 2554): 106-116.

มาลินี คัมภีรญาณนนท์. “จิตรกรรมฝาผนังพระอุโบสถวัดกัลยาณมิตร: เรื่องจริงหรือจินตนาการ.” เมืองโบราณ 32, 3 (กรกฎาคม-กันยายน 2549): 64-86.

ยิ้ม ปัณฑยางกูร และคนอื่นๆ. “หมายรับสั่งรัชกาลที่ 2 ร.ศ.1183 เลขที่ 52 เรื่อง สมเด็จพระสังฆราช วัดมหาธาตุ สิ้นพระชนม์,” ใน ประชุมหมายรับสั่ง ภาค 43ตอนที่ 1 สมัยรัตนโกสินทร์ รัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย จ.ศ.1186-1203. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการพิจารณาและจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์ สําานักนายกรัฐมนตรี, 2528.

ศรัณย์ ทองปาน. “ลัทธิอนาคตวงศ์ พุทธศาสนาประชานิยมยุคต้นรัตนโกสินทร์” ดําารงวิชาการ: หนังสือรวมบทความวิชาการคณะโบราณคดี 8, 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2552): 109.

ศักดิ์ชัย สายสิงห์.รายงานการวิจัย พระพุทธรูปในประเทศไทย: รูปแบบ พัฒนาการ และความเชื่อของคนไทย [ซีดีรอม]. ม.ป.ท., 2553.

สุริยวุฒิ สุขสวัสดิ์, หม่อมราชวงศ์. พระพุทธปฏิมาในพระบรมมหาราชวัง. กรุงเทพฯ: สําานักราชเลขาธิการ, 2535.

อภินันท์ โปษยานนท์. จิตรกรรมและประติมากรรมแบบตะวันตกในราชสําานัก. กรุงเทพฯ: สําานักพระราชวัง, 2536.

Downloads