การพัฒนาแบบวัดความเป็นสากล (วัฒนธรรมสากล) สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี

Main Article Content

เรวดี กระโหมวงศ์

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและพัฒนาแบบวัดความเป็นสากล (วัฒนธรรมสากล) สำหรับนักศึกษาปริญญาตรี โดยการหาคุณภาพ สร้างเกณฑ์ปกติและคู่มือการใช้โดยยึดหลักความเป็นสากล (วัฒนธรรมสากล) ที่ประกอบด้วย 6 ด้าน คือ ความเป็นประชาธิปไตย ความรับผิดชอบ ความใฝ่รู้ใฝ่เรียน การเห็นประโยชน์ส่วนรวม พฤติกรรมการแสดงออกทางสังคม และการอยู่ร่วมกันและการทำงานร่วมกันของคนต่างวัฒนธรรม เป็นแบบวัดที่เป็นสถานการณ์ และมีตัวเลือก 5 ตัวเลือก มีคำตอบถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว ด้านละ 20 ข้อ รวมทั้งสิ้น จำนวน 120 ข้อ หาคุณภาพด้านรายข้อด้วย หาคุณภาพด้านความเที่ยงตรง เชิงเนื้อหาโดยให้ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน พิจารณาหาความยากง่าย และอำนาจจำแนก โดยใช้สูตรอย่างง่าย ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ โดยใช้สูตร สูตร KR-20 และหาเกณฑ์ปกติโดยใช้คะแนนที่ปกติ


ผลการวิจัยพบว่า


  1. แบบวัดความเป็นสากล ทั้ง 6 ด้าน มีคุณภาพด้านความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาจากการหาค่าดัชนีความสอดคล้อง  มีค่าตั้งแต่ 0.60-1.00 มีค่าความยากง่ายตั้งแต่ 0.23 - 0.65 มีค่าอำนาจจำแนก ตั้งแต่ 0.21 - 0.56 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ 0.83

  2. เกณฑ์ปกติของแบบวัดความเป็นสากล มีคะแนนดิบ ตั้งแต่ 68-110 คะแนน และคะแนนที่ปกติ ตั้งแต่               T23 – T73

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

เรวดี กระโหมวงศ์, คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

นางเรวดี  กระโหมวงศ์

      กศ.ด. (การทดสอบและวัดผลการศึกษา) มหาวิทยาลัยศรนครีนทวิโรฒ ประสานมิตร 2539.

      กศ.ม. (วัดผลการศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร 2530.

      กศ.บ. (คณิตศาสตร์) วิชาโท การวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สงขลา 2525.

ตำแหน่งทางวิชาการ  ผู้ช่วยศาสตราจารย์

งานวิจัย

เรวดี  กระโหมวงศ์, สุจิตรา จรจิตร, พลรพี ทุมมาพันธุ์ และจิราภรณ์ เรื่องยิ่ง. (2558). การกระจายอำนาจทางการศึกษาให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตพื้นที่ภาคใต้. ทุนวิจัยสกว.

เรวดี กระโหมวงศ์. (2558). การวิจัยและพัฒนาภูมิปัญญาไทยภาคใต้ในบริเวณพื้นที่ชุ่มน้ำทะเลน้อย. ทุนเงินงบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยทักษิณ.

เรวดี กระโหมวงศ์, คำนวณ นวลสนอง และเชิดชัย อ๋องสกุล. (2556). ติดตามและประเมินผลความสำเร็จของแผนงานโครงการแก้ปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจำปีการศึกษา พ.ศ.2555-2556 โดยใช้มิติทางด้านศาสนา และศิลปวัฒนธรรมในการสร้างสันติสุขในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้. ทุนวิจัยกระทรวงวัฒนธรรม.

บทความวิจัย

ฐิติมา ชูใหม่ วิทยา เหมพันธ์ และเรวดี กระโหมวงศ์. (2560). “ความสัมพันธ์ระหว่างการอบรมเลี้ยงดูของผู้ปกครองกับการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กปฐมวัย ในอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์”. วารสารคุณภาพชีวิตกับกฎหมาย. 13(2), 47-59

วัชรศักดิ์  สงค์ปาน, วัน  เดชพิชัย และเรวดี  กระโหมวงศ์. (2560). การพัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียนเพื่อบรรลุผลการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนมัธยมศึกษาภาคใต้ฝั่งอันดามัน.วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. 12(1), 117-130.

วัชรศักดิ์  สงค์ปาน, วัน  เดชพิชัย และเรวดี  กระโหมวงศ์. (2560). สภาพปัจจุบันของการบริหารโรงเรียนเพื่อบรรลุผลการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนมัธยมศึกษาภาคใต้ฝั่งอันดามัน. วารสารหาดใหญ่วิชาการ. 15(1), 11-23.

เขมภพ  นพคุณ, วัลลยา  ธรรมอภิบาล อินทนิน และเรวดี  กระโหมวงศ์.(2559). การประเมินการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาอำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาส                   ราชนครินทร์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 3(1). 1-11.

วัชรียา  เหล็มหมาด, ชัยลิขิต สร้อยเพชรเกษม และเรวดี  กระโหมวงศ์. (2559). การพัฒนากิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการของเมอร์ด็อคร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค CIRC เพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านจับใจความสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี. 13(1), 75-82.

อาเส๊าะ สาแหม, เรวดี  กระโหมวงศ์ และเมธี  ดิสวัสดิ์. (2559). การพัฒนากิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการของเมอร์ด็อคร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค CIRC เพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านจับใจความสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี. 13(1), 190-200.

เชาวนี  แก้วมโน, สุจิตรา จรจิตร และเรวดี  กระโหมวงศ์. (2559). องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อปริญญาตรี ของนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนเขตภาคใต้. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. 11(2), 15-30.

ณัฐวีภรณ์ ทิพย์วาสี, เรวดี  กระโหมวงศ์ และวัลลยา ธรรมอภิบาล อินทนิน. (2558).  การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องการทำขนมประเพณีทำบุญวันสารทเดือนสิบของจังหวัดสงขลา  สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วารสารคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ. 15(1),  28 - 41.

ดวงใจ  ไพชำนาญ, เรวดี กระโหมวงศ์ และวัลลยา  ธรรมอภิบาลอินทนิน. (2558). การพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติม เรื่อง การขยายพันธ์ยางพารา สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2. วารสารคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ. 15(2),  140-151.

นัซรียะห์ อาบู, เรวดี กระโหมวงศ์ และสุเทพ สันติวรานนท์. (2556). การพัฒนาชุดการจัดการเรียนรู้เรื่องโจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์โดยใช้ข้อมูลท้องถิ่นสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5.วารสารอัล-นูร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยฟาฎอนี. 8(14), 35-43.

                                   

References

จดหมายข่าวสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2554). ยุทธศาสตร์อุดมศึกษาไทยในการเตรียมความพร้อมสู่การเป็นประชาคมอาเซียน ในปี 2558. สืบค้นเมื่อ 25 ตุลาคม 2558 จาก http://www.mua.go.th/prweb/

นิธิมา หงส์ขำ. (2549). การพัฒนาแบบประเมินทักษะชีวิตระดับประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเขตพื้นที่การศึกษาสงขลา. (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยทักษิณ)

นิภา วงษ์สุรภินันท์ (2548). การสร้างแบบวัดคุณลักษณะใฝ่รู้ใฝ่เรียน สำหรับนักเรียนระดับช่วง ชั้นที่ 3. (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต , มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ).

ล้วน สายยศและอังคณา สายยศ. (2539). เทคนิคการวัดผลการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : สุวิริยาสาส์น.

ล้วน สายยศและอังคณา สายยศ. (2543). เทคนิคการวัดผลการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : สุวิริยาสาส์น.

สมนึก ภัทธิยธนี. (2558). การวัดผลการศึกษา. กาฬสินธ์ : ประสานการพิมพ์.

เสริม ทัศศรี. (2545). “การสร้างเกณฑ์ปกติโดยใช้วิธีกาลังสองต่ำสุด” เอกสารประกอบการสัมมนาการวิจัยทางการวัดและประเมินทางการศึกษา. สงขลา : ภาควิชาการประเมิน และวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ.

Deutsch, M. (1975). Equity, equality, and need: What determines which value will be used as the basis of distributive justice? Journal of Social Issues, 31, 137-149.

Innes, Ev. And Straker. (2003). “Good” validity in Validity of work-Related assessment : Retrieved. June 23, 2003, from [email protected], http://home Earthlink.net/medtox/analysis.html.

Kabanoff, B. (1991). Equity, equality, power, and conflict. The Academy of Management Review, 16(2), 416-441.

Yamane, T. (1973). Statistic: An Introductory Analysis. 3 rd ed. New York: Harper and Row