Transforming Organizations towards Sustainable Social Enterprises

Main Article Content

Noppadon Dejprasert

Abstract

The purpose of the article was to publicize the concept that leads the organization to be a sustainable social enterprise by comparing with the activities that were based on Corporate Social Responsibility (CSR) of which many organizations were aware and which they held for practice. In fact, the concept of CSR was used to maximize profi ts of the organization which simultaneously is responsible for the well-being of society whether or not it was mandated by law. The primary goal of social enterprise, however, was to resolve various social problems. The form of business could be either nonprofi t or for-profit. If for the nonprofi t case, they had to form a management approach that refl ected the sustainability of the organization. In contrast, if they were for-profi t, they would not provide dividends to shareholders, but use their profi t to solve social problems or generate social development according to their founding objectives. Else, the proportion of the distributed profi t should be less than that used for social benefi ts as stipulated in the founding objectives.
As a result, if an organization tenacious in social enterprise needs to improve its sustainability, it should run each CSR one by one, by rotating each employee to be the leader of the project to encourage employees’ participation. Each project should be linked to the organization’s policy; whose main goal is to be a social enterprise. In this case, each activity, economic, social or environmental, may take long time, but the end results would be benefi cial to all stakeholders and enable the organization to be recognized by society, community and the whole nation. Finally, CSR leads to a sustainable organization or social enterprise.

การปรับองค์กรสู่วิสาหกิจเพื่อสังคมที่ยั่งยืน

บทความทางวิชาการฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่แนวคิด การปรับองค์กรสู่วิสาหกิจเพื่อสังคมที่ยั่งยืน โดยเปรียบเทียบให้เห็นถึงกิจกรรมเพื่อสังคม คือการดำเนินกิจการเพื่อแสวงหากำไรสูงสุดให้กับองค์กรอย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคม โดยคำนึงถึงทุกภาคส่วนในสังคมที่มีส่วนได้เสียกับการดำเนินธุรกิจ ไม่ว่ากฎหมายจะกำหนดไว้หรือไม่ ส่วนวิสาหกิจเพื่อสังคมเป็นการก่อตั้งกิจการ มีเป้าหมายหลักเพื่อมุ่งหวังแก้ไขปัญหาต่างๆ ในสังคม โดยจะดำเนินงานในรูปองค์กรแสวงผลกำไรหรือไม่ก็ได้ หากเป็นองค์กรไม่แสวงผลกำไร ต้องมีรูปแบบการบริหารจัดการที่แสดงถึงความยั่งยืนขององค์กร แต่หากเป็นองค์กรแสวงผลกำไรหรืออยู่ในรูปธุรกิจเพื่อสังคม จะต้องนำกำไรไปใช้เพื่อแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาสังคมตามวัตถุประสงค์ในการก่อตั้ง ไม่มีการปันผลกำไรให้ผู้ถือหุ้น หรือหากมีก็ต้องเป็นสัดส่วนที่ไม่มากไปกว่าการนำไปใช้เพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาสังคมตามวัตถุประสงค์ของการก่อตั้งองค์กร

ดังนั้น หากองค์กรต้องการปรับองค์กรสู่วิสาหกิจเพื่อสังคมที่ยั่งยืน ควรเริ่มต้นด้วยการดำเนินกิจกรรมเพื่อสังคมทีละโครงการ โดยอาจหมุนเวียนให้พนักงานแต่ละคนฝึกเป็นเจ้าของโครงการ ฝึกการมีส่วนร่วมของพนักงาน และเชื่อมต่อแต่ละโครงการกับนโยบายขององค์กรที่มีวัตถุประสงค์เพื่อเป้าหมายใหญ่ คือ วิสาหกิจเพื่อสังคม ไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ สังคม หรือสิ่งแวดล้อม โดยแต่ละกิจกรรมอาจใช้เวลานาน แต่จะให้ผลลัพธ์ที่ดีต่อทุกฝ่ายขององค์กร และจะทำให้องค์กรเป็นที่ยอมรับของสังคม ชุมชน และประเทศ

Article Details

How to Cite
Dejprasert, N. (2017). Transforming Organizations towards Sustainable Social Enterprises. Executive Journal, 37(1), 68–74. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/executivejournal/article/view/91142
Section
Academic Articles