การสร้างบทเรียนสำเร็จรูปเพื่อพัฒนาทักษะการบรรเลงจะเข้

Authors

  • ณัฐธยา รังสิยานนท์ คณะวิทยาลัยการดนตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
  • โกวิทย์ ขันธศิริ

Keywords:

บทเรียนสำเร็จรูป, ทักษะการบรรเลงจะเข้, The Instructional Programs, The Skills of Playing The Ja-Khay

Abstract

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างบทเรียนสำเร็จรูปรายวิชาปฏิบัติเครื่องดีดไทย 1 (Thai Plucked 1) ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เปรียบเทียบทักษะการบรรเลงจะเข้ของนักศึกษา ระหว่างการสอนด้วยบทเรียนสำเร็จรูปกับการสอนแบบปกติ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย  คือ นักศึกษาปริญญาตรี สาขาวิชาดนตรีศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร จำนวน 40 คนโดยแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง เรียนด้วย การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างบทเรียนสำเร็จรูปรายวิชาปฏิบัติเครื่องดีดไทย 1 (Thai Plucked 1) ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เปรียบเทียบทักษะการบรรเลงจะเข้ของนักศึกษา ระหว่างการสอนด้วยบทเรียนสำเร็จรูปกับการสอนแบบปกติ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย  คือ นักศึกษาปริญญาตรี สาขาวิชาดนตรีศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร จำนวน 40 คนโดยแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง เรียนด้วยบทเรียนสำเร็จรูป 20 คน และเป็นกลุ่มควบคุม เรียนแบบปกติ 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ บทเรียนสำเร็จรูป และแบบประเมินทักษะการบรรเลงจะเข้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาประสิทธิภาพของบทเรียนสำเร็จรูปจากสูตร “E” _“1” /“E” _“2”  ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการศึกษาพบว่า   1. บทเรียนสำเร็จรูปที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ 81.14/84.12  ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 2. ทักษะการบรรเลงจะเข้ของนักศึกษาที่เรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป สูงกว่าทักษะจะเข้ของนักศึกษาที่เรียนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05

Abstract

 

The purpose of this study was to 1) create the instructional programs in the practical subject for Thai Plucked 1 to be effective by 80/80 and 2) compare the undergraduate student’s skills of playing the Ja-khay between using the  The purpose of this study was to 1) create the instructional programs in the practical subject for Thai Plucked 1 to be effective by 80/80 and 2) compare the undergraduate student’s skills of playing the Ja-khay between using the instructional programs and the regular lesson plans. The sample of this study 40 undergraduate, Majoring the Music Education in Kamphaengphet Rajabhat University. They were divided into 2 groups thus; 1) the experimental group was 20 students, study by using the instructional programs and 2) the control group was 20 students, study by using the regular lesson plans. The research instruments were 1) the instructional programs and 2) the assessments of the Ja-khay skills by analyzing and calculating the efficiency of the instructional programs using the formula; “E” _“1” /“E” _“2” , the average, the standard deviation, and T-test.  The result of this study found that  1. The instructional programs that were created have the efficiency to 81.14/84.12. It was higher than the set of criteria.  2. It was found that the undergraduate student’s skills in playing the Ja-khay, studying with the instructional programs were more effective than the undergraduate students, studying from the regular lesson plans by having the statistical significance at 0.5 levels. 

Downloads

Published

2018-10-16

Issue

Section

บทความวิจัย | Research Article