การพึ่งพาตนเองทางด้านรายได้ของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในกลุ่ม จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง

ผู้แต่ง

  • Arthit Phadungdech คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • Weerakul Chaiphar คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คำสำคัญ:

การพึ่งพาตนเองทางด้านรายได้, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น, กลุ่มจังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การพึ่งพาตนเองทางด้านรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง ในช่วงปี 2555 - 2559 โดยการใช้ดัชนีการพึ่งพาตนเองตนเองทางด้านรายได้เป็นตัวชี้วัด ผลจากการศึกษาพบว่า ในกรณีขององค์การบริหารส่วนตำบลในภาพรวมจะมีการพึ่งพาตนเองทางด้านรายได้ประมาณร้อยละ 2.5 ขณะที่เทศบาลตำบลจะอยู่ที่ประมาณร้อยละ 5.6  เทศบาลเมืองจะอยู่ที่ประมาณร้อยละ 10 ส่วนเทศบาลนครอยู่ที่ประมาณร้อยละ 10.7 ซึ่งสามารถสรุปได้ว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังมีความสามารถในการพึ่งพาตนเองทางด้านรายได้ค่อนข้างน้อย โดยเฉพาะองค์การบริหารส่วนตำบล โดยแนวโน้มในภาพรวมที่สำคัญ คือ การพึ่งพาตนเองขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสูงขึ้นต่อเนื่องในช่วงปี 2555-2558 และลดลงในปี 2559 โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในแต่ละประเภทและแต่ละจังหวัดจะมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความโดดเด่นในการพึ่งพาตนเองทางด้านรายได้ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการศึกษาความสามารถความแตกต่างกันและแนวทางในการพัฒนาการพึ่งพาตนเองทางด้านรายได้ขององค์ปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งในประเภทเดียวกันและประเภทที่ต่างกันต่อไป

References

เอกสารอ้างอิง
กรมโยธาธิการและผังเมือง. (2550). ผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี พ.ศ. 2600.
กรุงเทพฯ: กรมโยธาธิการและผังเมือง.
คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2557). รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ์
โครงการศึกษาวิจัยเพื่อติดตามและประเมินผลการกระจายอำนาจของไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี.
จรัส สุวรรณมาลา. (2529). ความสามารถในการพึ่งตัวเองทางการคลังของเทศบาล.
กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ดวงมณี เลาวกุล. (2555). การปฏิรูปการกระจายอำนาจ การคลังสู่ท้องถิ่น.
กรุงเทพฯ: เปนไท.
ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์. (2558). การสังเคราะห์ความรู้การกระจายอำนาจและการคลังท้
องถิ่น: การขยายฐานรายได้และมาตรการลดความเหลื่อมล้า. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
บรรเจิด สิงคะเนติ และดารุณี พุ่มแก้ว. (2560). องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทยในมิติ
ปัญหาทางการคลัง. วารสารรัฐประศาสนศาสตร์. 15(2): 3-25.
พรชัย ฐีระเวช. (2558). การบริหารการคลังท้องถิ่น หน่วยที่ 1-7. นนทบุรี:
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
วีระศักดิ์ เครือเทพ. (2558). 15 ปี การกระจายอำนาจของไทย สรุปผลการวิจัยและ
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วุฒิสาร ตันไชย. (2557). องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น: "รับ" และ "รุก" อย่างไรกับ
ประชาคมอาเซียน. กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า.
สกนธ์ วรัญญูวัฒนา. 2556. การกระจายอำนาจทางการคลังสู่องค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น: แนวคิดและการปฏิบัติ กรณีศึกษาประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (2552). รายงานผล
การศึกษาความก้าวหน้าของการกระจายอำนาจในประเทศไทยและข้อเสนอ. กรุงเทพฯ: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น.
สมชัย จิตสุชน. (2559). ศาสตร์พระราชากับการแก้ปัญหาความยากจนและความ
เหลื่อมล้ำอย่างยั่งยืน. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 กับเศรษฐศาสตร์. (Online) สืบค้นจากhttps://www.pier.or.th/wp- content/uploads 2016/11/aBRIDGEd_2016_23.pdf, เข้าถึงเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2560.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2554).
พระมหากษัตริย์นักพัฒนาเพื่อประโยชน์สุขสู่ปวงประชา. (Online) สืบค้นจาก http://www.nesdb.go.th/Md/ book/Dev_King.pdf, เข้าถึงเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2560.
สุนทรชัย ชอบยศ. (2557). ความท้าทายของท้องถิ่นอีสานในเส้นทาง EWEC ภายใต้
บริบทแห่งการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน. รัฐสภาสาร. 62(1): 9-24.
อัชกรณ์ วงศ์ปรีดี และสุนทรชัย ชอบยศ. (2560). การบริหารการคลังท้องถิ่น:
บทเรียนจากนวัตกรรมท้องถิ่นไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 2). นนทบุรี: พิมพ์รัตนไตร.
อุดม ทุมโฆสิต. (2552). การปกครองท้องถิ่นสมัยใหม่: บทเรียนจากประเทศพัฒนา
แล้ว. พิมพ์ครั้งที่ 2 . กรุงเทพฯ : แซท โพร์ พริ้นติ้ง.
Bahl, R. (2008). The Pillars of Fiscal Decentralization. Caracas: CAF.
Chapman, J. I. (1999). Local Government, Fiscal Autonomy and Fiscal
Stress: The Case of California. Cambridge: Lincoln Institute of Land Policy.
Gomes, S. (2012). Fiscal Powers to Subnational Governments: Reassessing
the Concept of Fiscal Autonomy. Regional and Federal Studies. 22(4): 387–406.
Ite, U. E. (2016). Perspectives on Self-reliance and Sustainable
Development in Nigeria. 2nd National Conference of Academic Staff Union of Polytechnics (ASUP), Ken Saro Wiwa Polytechnic, Bori Chapter, Rivers State, Nigeria 6 th September 2016.
Jemna, D. V., Onofrei, M., & Elena, C. I. G. U. (2013). Demographic and Socio-
Economic Determinants of Local Financial Autonomy in Romania. Transylvanian Review of Administrative Sciences, 9(39): 46-65.
Katorobo, J. (2005). Decentralization and Local Autonomy for Participatory
Democracy. Global Forum on Reinventing Government towards Participatory and Transparent Governance. Seoul, Republic of Korea: the United Nations. pp. 3-41.
Kelly, R. (1999). Intergovernmental Revenue Allocation Theory and
Practice: An Application to Nepal. Asian Journal of Public Administration, 21(1): 86-113.
Kim, I., & Isma’il, M. (2013). Self-Reliance: Key to Sustainable Rural
Development in Nigeria. Journal of Science and Technology, 3(6): 585-591
Ladner, A., Keuffer, N., & Baldersheim, H. (2016). Measuring Local
Autonomy in 39 Countries (1990–2014). Regional & Federal Studies, 26(3): 321-357.
Mathang, R. F. (2016). Assessment of municipal sources of revenue: a
study of city of Johannesburg metropolitan municipality.
(Doctoral dissertation).
Mosteanu, T., & Lacatus, C. M. (2008). The Municipal Bonds–the Cause and
the Effect of the Local Financial Decentralisation Growth. Romanian Case. Theoretical and Applied Economics, 9(9): 51.
Overton, M., & Bland, R. (2017). Exploring the Linkage between
Economic Base, Revenue Growth, and Revenue Stability in Large Municipal Governments. Texas: Lincoln Institute of Land Policy.
Park, S. (2017). Local revenue structure under economic hardship: reliance
on alternative revenue sources in California counties. Local Government Studies, 43(4): 645-667.
Psycharis, Y., Zoi, M., & Iliopoulou, S. (2016). Decentralization and local
government fiscal autonomy: evidence from the Greek municipalities. Environment and Planning C: Government and Policy, 34(2): 262-280.
Ukpong, E. A. (1990). A Quest for Self-Glory or Self-Reliance: Upgrading the
Benefits of Community Development Programmes. Journal of Social Development in Africa, 5(2): 73-85.
Yan, W. (2012). The impact of revenue diversification and economic base
on state revenue stability. Journal of Public Budgeting, Accounting & Financial Management, 24(1): 58-81.

Translated Thai References
Chopyot, S. (2014). Challenge to Isan local with East-West Economic
Corridor under ASEAN Economic Community (AEC). Rattasapasarn. 62(1): 9-24.
Faculty of Political Science, Chulalongkorn University. (2014). Final
Report: Research Project for Monitoring and Evaluating the Decentralization of Thailand. Bangkok: Office of the Permanent Secretary, Prime Minister Office.
Jitsuchon, S. (2014). The King’s Philosophy and Sustainably Solving
Poverty and Inequality King Rama IX and Economics. Retrieved from https://www.pier.or.th/wp- content/uploads 2016/11/aBRIDGEd_2016_23.pdf, March 1, 2017.
Krueathep, W. (2015). Fifteen Years of Thai Decentralization: Research
Summmary and Policy Recommendation. Bangkok: Chulalongkorn University Printing House.
Laovakul, D. (2012). Reforming the fiscal decentralization to the local
administration. Bangkok: Pen Thai Publishing.
Office of the National Economic and Social Development Council. (2014).
The Development King for the Benefit of the People's Lives. Retrieved from http://www.nesdb.go.th/Md/book/Dev_King.pdf, March 1, 2017.
Pattamasiriwat, D. (2558). Synthesis of knowledge about
Decentralization and Local Finance: Income Base Expansion and Measures to Reduce Inequality. Bangkok: King Prajadhipok's Institute.
Singkaneti, B., & Pumkaew, D. (2017). Problems of Local Public Finance in
Thailand. The Thai Journal of Public Administration. 15(2): 3-25.
Suwanmala, J. (1986). The Ability of Fiscal Self-reliant of Municipality.
Bangkok: Chulalongkorn University.
Tanchai, W. (2014). Local Administrative Organization: How to
“defensive strategy” and “offensive strategy" with ASEAN Community. Bangkok: King Prajadhipok's Institute.
Thammasat University Research and Consultancy Institute. (2009). Report
on the Progress of Decentralization in Thailand and the Recommendation. Bangkok: Department of Local Administration.
The Department of Public Works and Town & Country Planning. (2007).
Northeastern Regional Plan 2057. Bangkok: Department of Public Works and Town & Country Planning.
Theerawetch, P. (2015). Local Finance Administration: Unit 1-7.
Nonthaburi: Sukhothai Thammathirat Open University.
Thumakosit, U. (2009). Modern local administration: Lessons Learned
From Developed Countries. (2nd). Bangkok: Sat Four Printing.
Waranyuwattana, S. (2013). Fiscal Decentralization to Local
Administrative Organizations: Concepts and Practices Case Study in Thailand. Bangkok: Thammasatpress.
Wongpreedee, A, & Chopyot, S. (2017). Local Finance Administration:
Lessons Learned From Thai Local Innovations. (2nd). Nonthaburi: Rattanatrai Printing.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-29

ฉบับ

บท

บทความวิจัย (Research Articles)