แนวทางพัฒนาการให้บริการสวัสดิการสังคมด้านคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุของเทศบาลเมืองในจังหวัดขอนแก่น

ผู้แต่ง

  • Narongpol Changsuwan คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • Pitundorn Nityasuiddhi คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คำสำคัญ:

การพัฒนาการให้บริการ, การส่งเสริมคุณภาพชีวิต, ผู้สูงอายุ

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทั่วไปในการให้บริการและเงื่อนไขที่มีความสัมพันธ์กับสภาพในการให้บริการสวัสดิการสังคมด้านคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ และ 2) เพื่อหาแนวทางพัฒนาการให้บริการสวัสดิการสังคมด้านคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ โดยเป็นการวิจัยแบบผสมระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ปฏิบัติงานในการให้บริการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ของเทศบาลเมืองในจังหวัดขอนแก่น จำนวน 77 ตัวอย่าง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณคือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหาคือ การพรรณนา ตีความ พบว่า การให้บริการสวัสดิการสังคมด้านคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก หากพิจารณาในค่าร้อยละ พบว่า มีบางประเด็นของการให้บริการผู้สูงอายุด้านร่างกายมีการให้บริการในระดับน้อยที่สุด ส่วนในด้านจิตใจ และด้านเศรษฐกิจมีบางประเด็นอยู่ในระดับไม่มีการให้บริการ โดยมีแนวทางการพัฒนาการให้บริการฯ ด้านร่างกาย และด้านจิตใจเพื่อนำมาใช้เป็นข้อมูลประกอบการร่างแผนการพัฒนาท้องถิ่นด้วย

References

เอกสารอ้างอิง
การุณย์ คล้ายคลึง. (2550). ปัญหาการทับซ้อนของอำนาจหน้าที่ในการจัดบริการ
สาธารณะในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าแบบอิสระปริญญารัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการเมืองและการปกครอง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ปราณี ประไพวัชรพันธ์. (2551). รูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในอำเภอคร
บุรี จังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาการพัฒนาสุขภาพชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา.
ปราโมทย์ ประสาทกุล. (บรรณาธิการ). (2558). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2557.
กรุงเทพฯ : มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
ปราโมทย์ ประสาทกุล. (บรรณาธิการ). (2560). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2559.
กรุงเทพฯ : มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
พนิษฐา พานิชาชีวะกุล. (2537). การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นสหมิติสำหรับผู้สูงอายุใน
ชนบท. วิทยานิพนธ์สาธารณสุขศาสตรดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล.
ภรณี เกตกินทะ. (2541). คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในบ้านพักคนชราในเขต
กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์คหกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาคหกรรมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
รัชนี โตอาจ. (มปป.). สังคมผู้สูงอายุ: นัยต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ. สืบค้นเมื่อ 15 ตุลาคม
2560 จากhttps://www.stou.ac.th/stouonline/lom/data/sec/Lom12/05-01.html
สิน พันธุ์พินิจ. (2551). เทคนิคการวิจัยทางสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ:
วิทยพัฒน์.
สุทิติ ขัตติยะ และวิไลลักษณ์ สุวจิตตานนท์. (2554). แบบแผนการวิจัยและสถิติ.
พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ประยูรวงศ์พริ้นท์ติ้ง.
สำนักงานคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. (2545).
รายงานสรุปการถ่ายโอนภารกิจตามแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฉบับที่ ๑. สืบค้นเมื่อ 4 พฤษภาคม 2561 จาก http://www.odloc.go.th/ web/wp-content/uploads/2015/05/รายงานสรุปการถ่ายโอนภารกิจตามแผน-๑.pdf
สำนักงานคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. (2551).
รายงานสรุปการถ่ายโอนภารกิจตามแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฉบับที่ ๒. สืบค้นเมื่อ 4 พฤษภาคม 2561 จาก http://www.odloc.go.th/web/wp-content/uploads/2015/05/รายงานสรุปการถ่ายโอนภารกิจตามแผน-๒.pdf
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2557). ผลการสำรวจประชากรสูงอายุ พ.ศ. 2557: รายงาน
ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ: สำนักงานสถิติแห่งชาติ.
United Nations Department of Economic and Social Affairs, Population
Division. (2015). Interactive Data - Profiles of Ageing 2015. Retrieved August 8, 2016, from Web site: https://esa.un.org/unpd/popdev/Profilesofageing2015/index.html
United Nations Department of Economic and Social Affairs, Population
Division. (2015). World Population Ageing 2015 (Report). Retrieved August 8, 2016, from Web site: http://www.un.org/en/development/desa/population/publications/pdf/ ageing/WPA2015_Report.pdf

Translated Thai References
Katekinta, P. (1999). The Elderly’s Quality of Life in Home for the Aged in
Bangkok. Master of Home Economic, Kasetsart University.
Khattiya, S., & Suvachittanont, W. (2011). Research and statistics schemes
(2nd ed.). Bangkok: Prayulwongprinting.
Klayklung, K. (2007). Problems of Overlapping Authorities in Providing
Public Services in Tambon Suthep Administrative Organization, Chiangmai Province. Master of Political Science’s thesis, Chiang Mai University.
National Statistical Office. (2014). Report on the 2017 Survey of the Older
Persons in Thailand. Bangkok. Office of the Decentralization to the Local Government Organization Committee. (2002). Summary report of the
transfer of the mission according to the action plan to determine the process of decentralization to the local government organization No. 1. Retrieved May 4, 2018, from http://www.odloc.go.th/web/ wp-content/uploads/2015/05/รายงานสรุปการถ่ายโอนภารกิจตามแผน-๑.pdf
Local Government Organization Committee. (2008). Summary report of the
transfer of the mission according to the action plan to determine the process of decentralization to the local government organization No. 2. Retrieved May 4, 2018, from http://www.odloc.go.th/web/wp-content/uploads/2015/05/รายงานสรุปการถ่ายโอนภารกิจตามแผน-๒.pdf
Panichacheewakul, P. (1994). Development of a Multidimensional Quality
of Life Instrument for the Rural Elderly. Doctoral of Public Health’ s thesis, Mahidol University.
Phanphinit, S. (2008). Research Techniques in Social Science (3rd ed.).
Bangkok: Witthayaphat.
Prapaiwatchcharapan, P. (2008). Model Development for Quality of Life of
Disabled in Orapin Subdistrict Khon Buri District Nakhon Ratchasima Province. Master of Community Health Development’ s thesis, Nakhon Ratchasima Rajabhat University.
Prasartkul, P. (Ed.). (2015). Situation of the Thai Elderly 2015. Bangkok:
Foundation of Thai Gerontology Research and Development Institute (TGRI).
Prasartkul, P. (Ed.). (Ed.). (2015). Situation of the Thai Elderly 2016.
Bangkok: Foundation of Thai Gerontology Research and Development Institute (TGRI).
Toarj, R. (n.d.). Aging Society: Implication for Economic Development.
Retrieved October 15, 2017, from https://www.stou.ac.th/stouonline/lom/data/sec/Lom12/ 05-01.html

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-29

ฉบับ

บท

บทความวิจัย (Research Articles)