รูปแบบการจัดการโรงแรมสีเขียวเพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • Boonyaporn Duangsa คณะวิทยาการการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
  • Veerakit Saorom คณะวิทยาการการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
  • Kochtamon Wongkam คณะวิทยาการการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

คำสำคัญ:

การจัดการ, โรงแรมสีเขียว, ความได้เปรียบทางการแข่งขัน

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสม ประกอบด้วยการวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับการจัดการ การตลาดสีเขียว คุณภาพบริการ และความได้เปรียบทางการแข่งขันของโรงแรมสีเขียวในประเทศไทย และเพื่อสร้างและยืนยันรูปแบบการจัดการโรงแรมสีเขียวเพื่อความได้เปรียบทางการแข่งขันในประเทศไทย ผลการวิจัยพบว่า ระดับการตลาดสีเขียว มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด  ระดับการจัดการโรงแรมสีเขียว คุณภาพบริการ และความได้เปรียบทางการแข่งขัน มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก  รูปแบบการจัดการโรงแรมสีเขียวได้ตัวแปร 2 กลุ่ม คือ ปัจจัยหลัก และปัจจัยรอง ปัจจัยหลัก ได้แก่ ราคา การจัดซื้อจัดจ้าง การจัดการสิ่งแวดล้อมและพลังงาน  การสื่อสาร และ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ปัจจัยรอง ได้แก่ การมีส่วนร่วมกับชุมชนท้องถิ่น ผลิตภัณฑ์ การประชาสัมพันธ์ การจัดจำหน่าย และการบริการ

References

เอกสารอ้างอิง
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม. (2559). เอกสารโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วม
ของสถานประกอบการในการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมประเภทโรงแรม (Green Hotel). กรุงเทพฯ : กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม.
ขวัญฤดี โซติชนาทวีวงค์. (2555). จัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม. นนทบุรี :
องค์กรธุรกิจเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน.
ฐิตินันท์ ทองสาด (2556). กลยุทธ์ความได้เปรียบทางการแข่งขนและการดำเนิน
กิจกรรมความรับผิดชอบทางสังคมต่อผู้ประกอบการธุรกิจ รีสอร์ทอำเภอ
แก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ธัญปวีณ์ รัตน์พงศ์พร (2553). แบบจำลองพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อ
สิ่งแวดล้อมของผู้บริโภค. วิทยานิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัย
รามคำแหง.
ธีรกิติ นวรัตน์ ณ อยุธยา. (2557). การตลาดบริการแนวคิดและกลยุทธ์.
(ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธีระ ขุนแผ้ว. (2560). สัมมนาการตลาด. สืบค้นเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์2560. จาก
http://www.e-leaning.tapee.ac.th.
นิศาชล ลีรัตนากร. (2556). รูปแบบการบริโภคสีเขียว ของผู้บริโภคจังหวัด
เชียงใหม่. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
ศุภณัฐ ชูชินปราการ. (2549). การวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด. วารสารมการ
วิเคราะห์, 10 (68) : 59-61.
สันทนา อมรไชย. (2552). ผลิตภัณฑ์สีเขียวเพื่อสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน. วารสารกรม
วิทยาศาสตร์บริการ, 57 (179) 29-36 ; มกราคม 2552.
สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2553). ผลิตภัณฑ์สี
เขียวเพื่อสิ่งแวดล้อม (Green Products). กรุงเทพฯ : กรมวิทยาศาสตร์
บริการ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สุนทรพจน์ ดำรงพานิช. (2555). โปรแกรม Mplus กับการวิเคราะห์ข้อมูลทาง
พฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม.
สุพานี สกฤษฏ์วานิช. (2553). การบริหารเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เสนาะ ติเยาว์. (2549). ความได้เปรียบทางด้านต้นทุน. สืบค้นเมื่อวันที่ 8 มีนาคม
2560. จาก http://www. dld.go.th.
หงสกุล เมสนุกูล. (2555). การศึกษาแนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อมของธุรกิจที่พัก
ตามมาตรฐานโรงแรมใบไม้สีเขียวของซิกเซ้นส์ ไฮอเวย์ เกาะยาวน้อย
จังหวัดภูเก็ต. กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน.
Tatreviewmagazine. (2559). แนวทางปฏิรูปประเทศไทย. สืบค้นเมื่อวันที่ 11
ธันวาคม 2559. จาก www.tatreviewmagazine.com
Thansettakij. (2559). รายได้ธุรกิจโรงแรม. สืบค้นเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2559.
จาก www.thansettakij.com.
Manaktola, K., Jauhari, V., 2007. Exploring consumer attitude and
behaviour towards Green practices in the lodging industry in
India. International Journal of ContemporaryHospitality
Management. 19 (5), 364–377.
Parasuraman, A., Berry, L.L., & Zeithaml, V.A. (1985). A Conceptual
Model of ServiceQuality and Its Implications for Future Research.
Journal of Marketing, 49 (1), 41-50.
Porter, M.E. (1990). Competitive Strategy : Techniques for Analyzing
Industries and Competitors. New York : Free.
Yinixg (Lixa) Gao, Anna S. Mattila. (2014). Improving consumer
satisfaction in green hotels : The roles of perceived warmth,
perceived competence, and CSR motive. International Journal
of HospitalityManagement . 42,1-202 ; September 2014.

Translated Thai References
Amornchai, S. (2009). Green products for a sustainable environment.
Journal of the Department of Science Service. 57 (179) 29-36.
Bureau of Science and Technology Information and Technology Library.
(2010). Green products for the environment (Green
Products). Bangkok: Department of Science Service Ministy of Science and Tecnology
Chuchanrakarn, S. (2006). Marketing situation analysis. Journal of
Analysis, 10 (68): 59-61.
Department of Environmental Quality. (2016). Project documents for
promoting the participation of enterprises in
environmentally friendly services for hotels (Green
Hotel) Bangkok: Department of Environmental Quality
Promotion.
Khunchua, T. (2560). Marketing seminar. Searched on 16 February
2017. From http://www.e-leaning.tapee.ac.th.
Leeratanakorn, N. (2013). Green consumption patterns Of consumers
in Chiang Mai Province. Chiang Mai: Maejo University.
Nawarat Na Ayudhaya, T. (2014). Marketing services, concepts and
strategies. (Revised edition). Bangkok: Chulalongkorn University.
Nusukul, H. (2012). Study of environmental management guidelines
of accommodation business according to the Green Leaf Hotel standards of Six Senses Hideaway, Koh Yao Noi, Phuket Province. Bangkok: Kasetsart University
Kamphaeng Saen Campus.
Phongphon, T. (2010). Consumer behavior buying model of
environmentally friendly products. Thesis of Doctor of
Philosophy, Ramkhamhaeng university.
Sakritwanich, S. (2010). Strategic management. Bangkok: Thammasat
University.
Sotitthaweewong, K. (2012). Eco-friendly procurement. Nonthaburi:
Business organization for sustainable development.
Speeches for the Commercialization (2012). Mplus program with
behavioral and social science data analysis. Mahasarakham:
Mahasarakham University.
Tatreviewmagazine. (2016). Thailand Reform Guidelines. Searched on
11 December 2016. From www.tatreviewmagazine.com
Thansettakij. (2016). Hotel business income. Searched on 15 August
2016. From www.thansettakij.com.
Thongplad, T. (2013). Strategies for competitive advantage and
implementation of social responsibility activities for business operators Resort, Kaeng Krachan District Phetchaburi Province. Thesis of Master of Business Administration, Silpakorn University.
Young, S. (2006). Cost advantage. Searched on 8 March 2017. From
http: // www. Dld.go.th.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-29

ฉบับ

บท

บทความวิจัย (Research Articles)