ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการนำนโยบายการผลิตและพัฒนาคุณภาพกำลังคนอาชีวศึกษาไปปฏิบัติ : กรณีศึกษาสถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการนำนโยบายการผลิตและพัฒนาคุณภาพกำลังคนอาชีวศึกษาไปปฏิบัติ : กรณีศึกษาสถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร

ผู้แต่ง

  • Natthida Uaprasoet
  • Ploy Suebvises

คำสำคัญ:

การนำนโยบายไปปฏิบัติ; การพัฒนากำลังคน; อาชีวศึกษา

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการนำนโยบายการผลิตและพัฒนาคุณภาพกำลังคนอาชีวศึกษาไปปฏิบัติ เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างจำนวน 309 คน ผลการศึกษาพบว่า 1) มาตรฐานและวัตถุประสงค์ของนโยบาย ระดับความคิดเห็นของบุคลากรอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.02 มีอิทธิพลต่อการนำโยบายไปปฏิบัติ 2) ทรัพยากรองค์การ ระดับความคิดเห็นของบุคลากรพบว่าอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 3.87 ไม่มีอิทธิพลต่อการนำโยบายไปปฏิบัติ 3) การสื่อสารระหว่างองค์การ ระดับความคิดเห็นของบุคลากรพบว่าอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 3.95 มีอิทธิพลต่อการนำโยบายไปปฏิบัติ 4) ลักษณะขององค์การที่นำไปปฏิบัติ ระดับความคิดเห็นของบุคลากรพบว่าอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 3.64 ไม่มีอิทธิพลต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติ 5) เงื่อนไขทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ระดับความคิดเห็นของบุคลากรพบว่าอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 3.90 มีอิทธิพลต่อการนำโยบายไปปฏิบัติ และ 6) ความร่วมมือและการตอบสนองของผู้ปฏิบัติ ระดับความคิดเห็นของบุคลากรพบว่าอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 3.95 มีอิทธิพลต่อการนำโยบายไปปฏิบัติ ตามลำดับ

คำสำคัญ: การนำนโยบายไปปฏิบัติ; การพัฒนากำลังคน; อาชีวศึกษา

References

เอกสารอ้างอิง

กระทรวงศึกษาธิการ. สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2560). รายงานผล
การดำเนินงาน ระหว่าง พ.ศ. 2556-2560 สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร. กรุงเทพมหานคร: สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร.
กระทรวงศึกษาธิการ. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2559). สถิติการศึกษา
ของประเทศไทยปีการศึกษา 2557-2558. กรุงเทพมหานคร: พริกหวานกราฟฟิคจำกัด
กระทรวงศึกษาธิการ. สำนักปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (2554). แผนพัฒนาการศึกษา
ของกระทรวงศึกษาธิการฉบับที่สิบเอ็ด พ.ศ. 2555-2559. (ออนไลน์) สืบค้นจาก www.thailibrary.in.th เข้าถึงเมื่อ 5 ตุลาคม 2560
กัณฑ์พร กรรณสูตร. (2553). การรับรู้โครงการประชาสัมพันธ์นโยบายเรียนฟรี 15 ปี
ของรัฐบาลกรณีศึกษาผู้ปกครองนักเรียนในโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดสมุทรปราการ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ทองใบ สุดชารี. (2536). ศึกษาการนำนโยบายของวิทยาลัยครูไปปฏิบัติ : กรณี
ศึกษาสหวิทยาลัยอีสานใต้. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาพัฒนบริหาร
ศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต. กรุงเทพฯ: คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิต
พัฒนบริหารศาสตร์.
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่สอง) พ.ศ. 2545. ราชกิจจานุเบกษา.
ฉบับกฤษฎีกา 119, 123ก (19 ธันวาคม):17. (ออนไลน์) สืบค้นจาก http://www.moe.go.th เข้าถึงเมื่อ 15 ธันวาคม 2560
พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551. ราชกิจจานุเบกษา. ฉบับกฤษฎีกา 125,
43 ก (5 มีนาคม) 2. (ออนไลน์) สืบค้นจาก http://www.moe.go.th เข้าถึงเมื่อ 30 ธันวาคม 2560
วรเดช จันทรศร. (2552). ทฤษฎีการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ. (พิมพ์ครั้งที่ 4).
กรุงเทพฯ: บริษัท พริกหวานกราฟฟิค.
ศุภชัย ยาวะประภาษ. (2554). นโยบายสาธารณะ. (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ:
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. (2555). นโยบายสาธารณะ: แนวความคิด การวิเคราะห์ และ
กระบวนการ. (พิมพ์ ครั้งที่ 25). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เสมาธรรม.
สมพร เฟื่องจันทร์. (2552). นโยบายสาธารณะ: ทฤษฎีและการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ:
บริษัท ออน อาร์ตครีเอชั่น จำกัด.
หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ. (18 ธันวาคม 2560). “อาชีวศึกษาและตลาดแรงงานใน
ประเทศไทย”. (ออนไลน์). สืบค้นจากhttps://www.thansettakij.com/content/242348 เข้าถึงเมื่อ 5 กันยายน 2562
Van Meter, Donald S & Van Horn, Carl E. (1975). The policy implementation
process : A conceptual framework. Administrative and Society. 6(4) February.
Likert, R.A. (1932). Technique for the Measurement of Attitudes. Arch
Psychological.25(140): 1-55.
Yamane, Taro. (1967). Statistics, An Introductory Analysis. 2nd ed.
New York: Harper and Row.

Translated Thai References

Chantasorn, W. (2009). Theory of public policy implementation. 4th
edition, Bangkok: ChiliWan Graphic Company.
Fuengchan, S. (2009). Public policy: theory and practice. Bangkok: On
Art Creation Company Limited.
Kannasut, K. (2010). Perception of the 15 years free government
education program public relations project: a case study of parents of students in private vocational schools, Samut Prakan Province. Thammasat University: Bangkok.
National Education Act, 2002. The Royal Gazette, Issue 119, 123 (19
August): 17. (Online) Retrieved from www.moe.go.th (Accessed when December 2017)
Office of the Permanent Secretary, Ministry of Education. (2011).
Education Development Plan of Ministry of Education, Eleventh Edition, 2012-2016. (Online) Retrieved from www.thailibrary.in.th (Accessed when 5 October 2017)
Office of the Education Council, Ministry of Education. (2016). Education
statistics of Thailand year Education 2014-2015. Bangkok: Sweet Chili Graphic Co., Ltd.
Office of the Vocational Education Commission, Ministry of Education.
(2017). Performance report During 2013-2017, Institute of Vocational Education, Bangkok. Bangkok: Institute of Vocational Education, Bangkok.
Office of the Vocational Education Commission. (2012). Policy on
production and development of education for a period of 15 years (2012-2026). Bangkok: Office of the Vocational Education Commission
Sudchari, T. (1993). A Study of the Implementation of Teacher College
Policies: A Case Study of Northeastern Colleges of Southern Thailand. Dissertation of the Doctorate Degree in Public Administration. Bangkok: Faculty of Public Administration, The National Institute of Development Administration.
Thamrongthanyawong, S. (2012). Public Policy: Concepts, Analysis and
Processes. 25th edition. Bangkok: Sema Dharma Publishing House.
Vocational Education Act, 2008 . Government Gazette, Royal Decree
125, 43 (5 March): 2.(Online) Retrieved from www.moe.go.th (Accessed when December 2017)
Yawaprad, S. (2011). Public policy. 9th edition, Bangkok: The Publisher of
Chulalongkorn University.

Additional Files

เผยแพร่แล้ว

2019-12-27

ฉบับ

บท

บทความวิจัย (Research Articles)