การศึกษาโครงสร้างและการดำเนินงานของศูนย์อำนวย การบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ ในช่วงยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาจังหวัดชายแดนใต้ ปี 2558-2560

การศึกษาโครงสร้างและการดำเนินงานของศูนย์อำนวย การบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ ในช่วงยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาจังหวัดชายแดนใต้ ปี 2558-2560

ผู้แต่ง

  • Nutrada Silp-Udom
  • Anchana NaRanong

คำสำคัญ:

จังหวัดชายแดนภายใต้; โครงสร้างการบริหาร; ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาโครงสร้างของ ศอ.บต. ในช่วงยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาจังหวัดชายแดนใต้ ปี 2558 – 2560 2) เพื่อศึกษาการดำเนินงานของ ศอ.บต. เพื่อลดความขัดแย้งตามยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาจังหวัดชายแดนใต้ ปี 2558 – 2560 3) เพื่อศึกษาปัจจัยและปัญหาที่มีผลต่อการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาจังหวัดชายแดนใต้ ปี 2558 – 2560 4) เพื่อศึกษาแนวทางในการลดความขัดแย้งของจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยลักษณะข้อมูลที่ใช้ศึกษา ดังนี้ ข้อมูลปฐมภูมิ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้การตอบแบบสอบถามคือ ข้าราชการ และพนักงานข้าราชการของ ศอ.บต.มีอายุงาน ไม่ต่ำกว่า 1 ปี จำนวน 508 คน ได้รับแบบสอบถามคืนกลับมา จำนวน 415 คน คิดเป็นร้อยละ 82 ของจำนวนประชากรทั้งหมดของหน่วยงานและการสัมภาษณ์เลขาธิการ รองเลขาธิการ และผู้บริหาร รวม 10 ท่าน งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เอกสารทางวิชาการตลอดจนฐานข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลทุติยภูมิ เก็บรวบรวมข้อมูลจากหนังสือ  เอกสารวิชาการ รายงานการประชุม รวมทั้งการสืบค้นข้อมูลจากสื่อสารสนเทศ การวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัย 1) พบว่า มีทั้งหมด 6 ปัจจัย ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านศาสนา ด้านการศึกษา ด้านความมั่นคง ด้านสิทธิมนุษยชนและการต่างประเทศ 2) ปัญหาและอุปสรรค (1) บุคลากรที่ไม่เพียงพอ การที่ ศอ.บต. มีหน่วยงานภายในที่มาก อันเนื่องมากจาก การยึดเอาตามภารกิจของ ศอ.บต.   ที่กำหนดไว้ใน พ.ร.บ. ทำให้เกิดการแบ่งหน่วยงานภายในที่เยอะเกินความจำเป็น (2) จำนวนหน่วยงานภายใน ในปัจจุบันโครงสร้างภายในของ ศอ.บต. มีจำนวนเยอะเกินไป

คำสำคัญ: จังหวัดชายแดนภายใต้; โครงสร้างการบริหาร; ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้

 

References

เอกสารอ้างอิง

ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์. (2541). ทฤษฎีองค์การสมัยใหม่. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์
แซทโฟร์ พริ้นติ้ง
ธงชัย สันติวงษ์. (2535). หลักการจัดการ. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
พิทยา บวรวัฒนา. (2531). ทฤษฎีองค์การสำหรับรัฐประศาสนศาสตร์. กรุงเทพฯ:
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พงศ์ภัทร สิรันทวิเนติ. (2558). คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของข้าราชการฝ่ายปกครอง
ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาตร์มหาบัณฑิ, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พระราชบัญญัติการบริหารราชการจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2553. (2553, 29
ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 127 ตอนที่ 80. หน้า 1-16.
แม็คคาร์โก, ดันแคน. (2555). ฉีกแผ่นดิน: อิสลามและปัญหาความชอบธรรมในภาต
ใต้ ประเทศไทย (แปลจาก Tearing Apart the Land: Isiam and Legitimacy in Southern Thailand โดย ณัฐธยาน์ วันอรุณวงศ์). กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ/มูลนิธิเพื่อการศึกษาประชาธิปไตยและการพัฒนา.
วรเดช จันทศร. (2540). การนํานโยบายไปปฎิบัติ. กรุงเทพฯ : คณะกรรมการปฎิรูป
ระบบราชการ, สํานักนายกรัฐมนตรี.
ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้. (2557). เกี่ยวกับ ศอ.บต. (ออนไลน์)
สืบค้นจาก http://www.sbpac.go.th/index.php/2014-11-27-03-45-40 เข้าถึงเมื่อ 8 ธันวาคม 2560.
ศรินธร รัตน์เจริญขจร. (ม.ป.ท.). สถานการณ์ความรุนแรงในสามจังหวัดชายแดน
ภาคใต้. (ออนไลน์) สืบค้นจากhttp://www.fpps.or.th/news.phpdetail=n1149477695.news เข้าถึงเมื่อ 18 ธันวาคม 2560.
Borisoff, D., & Victor, D. (1989). Conflict Management : A Communication
Skills Approach. Englewood Cliffs: New Jersey.
Crawley, J., & Graham, K. (2002). Mediation for Managers: Resolving
Conflict and Rebuilding Relationships at Work. London: Nicholas Brealey Publishing.
Gordon, J. R. (2002). Organizational Behavior : A Diagnostic Approach
(7th ed.). Upper Saddle River, NJ.: Prentice Hall.
Greenberg, J. (1997). Behavior in Organizations : Understanding and
Managing the Human Side of Work (6th ed.). Upper Saddle River, N.J.: Prentice Hall.
Van Slyke, E. J. (1999). Listening to Conflict : Finding Constructive
Solutions to Workplace Disputes. New York: AMACOM.

Translation Thai References

Bowonwathana, P. (1988). Organizational Theory for Public
Administration. Bangkok: Chulalongkorn University
Chandharasorn, W. (1997). Policy Implementation. Bangkok: The
commission for civil service reform, Office of the Prime minister.
Losuwanarat, T. (1998). Modern Organization Theory. Bangkok: National
Institute of Development Administration
Maccargo, D. (2012). Tearing the Land: Islam and the Righteous
Problem in Southern Thailand. Bangkok: Foundation for democratic education and development
Ratcharoenkajon, S. (2016). Situation of Violence in the Three Southern
Border Provinces. (Online), Retrieved on www.fpps.or.th (Accessed when 18 December 2017)
Santiwong, T. (1992). Principles of Management. Bangkok :Thai wattana
panich
Siruntawineti, P. (2015). Desirable Attributes of Government officers in
Sounthern Border Provinces of Thailand. Bangkok: Chulalongkorn University
Southern Border Provinces Administrative centre, (2014). The
organization. (Online), Retrieved on www.sbpac.go.th (Accessed when 8 December 2017)
Southern Border Provinces Administrative Administration Act, (2010).
Government Gazette. (Online), Retrieved on www.sbpac.go.th (Accessed when 15 October 2017)

Additional Files

เผยแพร่แล้ว

2019-12-27

ฉบับ

บท

บทความวิจัย (Research Articles)