ปัญหาทางกฎหมายในการคุ้มครองสัตว์ทะเลที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ กรณีศึกษา : ปลานกแก้ว

Main Article Content

ฐปณต ไมพานิช

Abstract

ปลานกแก้วเป็นเครื่องมือทางธรรมชาติในการฟื้นฟูแนวปะการัง รวมทั้ง
การสร้างความสมบูรณ์ให้กับระบบนิเวศใต้ทะเล ซึ่งในปัจจุบันปลานกแก้วถูกจับมา
เพื่อการบริโภคมากขึ้น แต่การเพาะขยายพันธุ์ปลานกแก้วยังสามารถทำได้ยาก
อาจมีผลให้จำนวนปลานกแก้วลดลงอย่างรวดเร็ว จึงสมควรให้มีการกำหนดนโยบาย รวมทั้งการใช้บังคับกฎหมายที่มีอยู่ให้เต็มประสิทธิภาพ โดยอาศัยความร่วมมือกันของภาครัฐ และประชาชน เพื่อให้ทรัพยากรทางทะเลของไทยได้รับการดูแลได้อย่างเป็นระบบ และคงความสมบูรณ์ได้ตลอดไป

Article Details

Section
Articles

References

หนังสือ

Nelson. J.S. Fish of the World. U.S.A. : John Wiley & Sons, 1994.
Lieske. E. and R.Myers. Coral Reef Fishes. London : Indo-Pacific & Caribbean Harper Collins, 1994.
Sale. P.F. The Ecology of Fish on Coral Reefs. United Kingdom: Academic, 1991.

เว็บไซต์

University of Exeter. Coral can recover from climate change damage [Internet]. Devon, United Kingdom: The University of Exeter ;
6 January 2010; http://www.exeter.ac.uk/news/archive/2010
/january/title_52379_en.html, February 10, 2017.State of
Queensland, (Office of the Queensland Parliamentary Counsel), “The Queensland Fishery Regulation 2008” https://www.legislation
.qld.gov.au/LEGISLTN/CURRENT/F/FisherR08.pdf, February 9, 2017.
Government of Western Australia (Department of the Premier and Cabinet), “The Fishery Resources Management Act 1994.” https://www.slp.wa.gov.au/legislation/statutes.nsf/law_a283.html, March 9, 2017.