วีรชนในแบบเรียนประวัติศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นของจีนปัจจุบัน ; Heroes in the Junior High School’s Textbook of China at the Present

Authors

  • DanTing Li คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
  • ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • เบญจวรรณ นาราสัจจ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Keywords:

จีน, วีรชน, หนังสือแบบเรียน, อุดมการณ์ชาติ, ประวัติศาสตร์นิพนธ์, China, Heroes, Textbooks, National ideology, Historiography

Abstract

          วีรชนเป็นองค์ประกอบหลักของกิจกรรมทางสังคมและประวัติศาสตร์ การศึกษาประวัติศาสตร์จำนวนมากจึงเป็นการศึกษาบทบาทและความสำคัญของวีรชนในเหตุการณ์ประวัติศาสตร์  บทความชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาว่ารัฐบาลจีนมีการนำเสนอเรื่องราววีรชนระบบฮ่องเต้ในแบบเรียนประวัติศาสตร์จีนเป็นอย่างไรและรัฐได้มีการสอดแทรกอุดมการณ์ชาติผ่านวีรชนเหล่านี้อย่างไรโดยใช้วิธีการศึกษาทางประวัติศาสตร์ด้วยการวิเคราะห์หนังสือแบบเรียนประวัติศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นของจีน  ผลการศึกษาพบว่าแบบเรียนประวัติศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นได้กล่าวถึงวีรชนจีนเป็นจำนวน 47 คนโดยมีเพศชาย 46 คน เพศหญิงคนเดียวสามารถแบ่งออกเป็น 7กลุ่ม ประกอบด้วย (1) ฮ่องเต้ (2) นักวิทยาศาสตร์/ผู้สร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี (3) ผู้นำการปฏิรูป/ ผู้นำปฏิวัติ/ผู้นำทางการเมือง/ผู้นำจลาจล (4) ทหาร/ข้าราชการ/ ผู้ปกป้องแผ่นดิน (5) ผู้เปิดเส้นทางติดต่อโลกภายนอก (6) นักปรัชญา/นักคิด และ (7) อื่นๆ เช่น จิตรกร เป็นต้น จากจำนวนวีรชนทั้งหมดในหนังสือแบบเรียนนี้ พบว่า แบบเรียนประวัติศาสตร์มีการเขียนถึงฮ่องเต้ในประวัติศาสตร์จีนยุคโบราณจำนวนมากที่สุด ส่วนแนวการเขียนวีรชนในแบบเรียนนั้น ผู้เขียนใช้กรณีจิ๋นซีฮ่องเต้ ซึ่งเป็นฮ่องเต้ที่ถูกอุทิศจำนวนหน้าเขียนมากที่สุด โดยมีการนำเสนอจิ๋นซีฮ่องเต้ทั้งในด้านดีและด้านที่เป็นความผิดพลาด เน้นแนวคิดทางการปกครองของจิ๋นซีฮ่องเต้ มีการสอดแทรกด้วยอุดมการณ์ความเป็นเอกภาพแห่งชาติ

 

Abstract

          Heroes are the major component of social and historical activities. A number of historical studies have investigated the roles and the significance of heroes in historical events. This article aimed at studying how the Chinese government presents the stories of heroes in the emperor system in the Junior High School’s Textbook and how the state inserts national ideology through these heroes. The historical method was employed. The Chinese history textbooks of junior high school were studied. The study found that the Chinese history textbooks of junior high school presented 47 Chinese heroes: 46 males and 1 female. The heroes were divided into 7 groups: (1) emperors, (2) scientists / technology innovators, (3) reform leaders / revolutionary leaders / political leaders / riot leaders, (4) soldiers / government officials / protectors of the nation, (5) the persons opening the nation to the outside world, (6) philosophers / thinkers, and (7) others such as painters. From the total number of the heroes in the textbooks, it was found that the emperors in the ancient Chinese history were presented the most. The story of Qin Shi Huang was written with the most pages. Both good sides and mistakes of Qin Shi Huang were presented. It emphasized the ruling principles of the Qin Shi Huang. The ideology of national unity was also inserted in the historical lessons.

References

ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์. (2557). งานเขียนทางประวัติศาสตรประเภทชีวประวัติในลาวช่วง ค.ศ.1975-ปัจจุบัน: สถานภาพความรู้. ขอนแก่น :ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มน้ำโขง.
อุมาพรพิชัยรักษ์. (2557).การประดิษฐ์สร้างวีรบุรุษ: ภาพลักษณ์เจ้าชายทีปนครในวัฒนธรรมอินโดนีเซีย.มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ณัฐกานต์ คูสมิทธิ์ (2547). ภาพวีรบุรุษที่ถูกประกอบสร้างผ่านกระบวนการข่าวสารของหนังสือพิมพ์ประชานิยม. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชูศักดิ์ ศุกรนันทน์. (2553). วรรณคดีวีรบุรุษไทยและลาว. มหาวิทยาลัยนเรศวร.
อารีย์รัตน์ โนนสุวรรณ. (2555). ตำนานวีรบุรุษลาวกับการสร้างอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม. วิทยานิพนธ์สาขา
ภาษาไทย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
Central Compilation and Translation Bureau.(2013). Karl Marx and Frederick Engels.People's Publishing House.
Hao Peilin.(2015).The Curriculum View Factors of History Textbooks in Elementary and Middle Schools in the Republic of China.Yangzhou University. China.
Jiang Lingfeng. (2015). Li Hongzhang In the Textbook Writing Since Founding of The Nation. Nanjing Normal University. China.
Jin Zhengxiu. (2011). A Study of the Relationship between the Writing of Women''s Biographies and the Imagining of State-Nation in the Late Qing Dynasty.Peking University.
Li Pengfei. (2016). The Construction of National Heroic Image in Anri-Japanese War-focus on Zhang Zizhong.Hunan Normal University
Liu ZongXu, Ding ShuangPing and Liu LinSheng. (2003).Chinese history2 .Yuelu Press.
Liu ZongXu, Ding ShuangPing and Liu LinSheng. (2003).Chinese history3 .Yuelu Press.
Liu ZongXu, Ding ShuangPing and Liu LinSheng. (2003).Chinese history4 .Yuelu Press.
Liu ZongXu, Ding ShuangPing and Liu LinSheng.(2003)Chinese history 1.Yuelu Press.
Lu Rui. (2015). Research on The Changes of Partriotism In the Centenary History Textbooks of Primary and Middle School. Hebei Normal University, China.
Song Hao.(2010).On Changes In The Historical Status Of Yue Fei. Xiangtan University
Tang Yidong. (2015).The Application of Textbook’s Illustrations in Middle School History Education.Hunan Normal University, China.
Wang Kai. (2007).Common sense of Chinese history.Higher Education Press
Wu Jianguo, Chen Guangkui, Liu Xiao and Yang Fengcheng. (1993).The situation about China ideology. Beijing police officer education press.
Xiao Qunying. (2009). “Ancestors”, “Gods” and “National Herors”—The Analysis for Chen Wenlong worship and Putian Yuhu Family Chen Interaction Between Culture Practices.Xiamen University
Xu Guoli, Li Tianxing.(2014).Criteria and Theoretical Characteristics of Historical Figures' Evaluation of Chen Yingke. Nankai Journal.2014(1).89-97

Downloads

Published

2018-12-27

How to Cite

Li, D., เมตตาริกานนท์ ด., & นาราสัจจ์ เ. (2018). วีรชนในแบบเรียนประวัติศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นของจีนปัจจุบัน ; Heroes in the Junior High School’s Textbook of China at the Present. JOURNAL OF LANGUAGE, RELIGION AND CULTURE, 7(2), 251–272. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/gshskku/article/view/127336

Issue

Section

บทความวิจัย