ประวัติศาสตร์สิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน: การเรียนรู้สู่การสร้างพลเมืองที่มุ่งเน้นความเป็นธรรมทางสังคมและสิ่งแวดล้อมในบริบทไ ; Environmental History for Sustainable Development: Learning Towards Preparing Social and Eco-Justice Oriented Citizen in Thai Context

Authors

  • อรรฏชณม์ สัจจะพัฒนกุล Pibulsongkram Rajabhat University

Keywords:

ประวัติศาสตร์สิ่งแวดล้อม, การพัฒนาที่ยั่งยืน, พลเมืองศึกษา, ความเป็นพลเมือง, Environmental history, Sustainable development, Civic education, Citizenship

Abstract

         บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอกรอบแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์สิ่งแวดล้อมในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยการสังเคราะห์เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องพบว่าการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์สิ่งแวดล้อมในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานนับได้ว่าเป็นเรื่องสำคัญยิ่ง เนื่องจากสถานการณ์และปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมได้กลายเป็นประเด็นสำคัญที่มวลมนุษยชาติต้องเผชิญร่วมกัน การเรียนรู้ประวัติศาสตร์สิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนจึงเป็นแนวทางสำคัญที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดอย่างมีเหตุผล สามารถเชื่อมโยงเหตุการณ์และมองเห็นปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง สามารถศึกษาประวัติศาสตร์ได้อย่างเป็นองค์รวมและมองเห็นการปฏิสัมพันธ์แห่งชีวิตระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติในอดีตสืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน รวมถึงการวิเคราะห์แนวโน้มในอนาคต สามารถเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนอันเป็นเป้าหมายและกระบวนการในการจัดความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมในรูปแบบใหม่ที่คำนึงคนรุ่นต่อไปและระบบนิเวศในอนาคต

 

Abstract

          This article aims to present a conceptual framework for the teaching of environmental history in the basic education level by synthesizing the documents and related research articles. A learning management of environmental history for sustainable development in senior high school civic competences is extremely important due to the effect of current issues in Thailand. Under the globalization processes, the issue of environmental collapse is one of many important issues that humankind must face together, and all the issues affecting relatively. Learning history is fundamental to making students think rationally and connect situation between internal and external factors that affect the change.  In particular, environmental history will help students view history as a whole; moreover, it supports interactions of life and awareness what we are really fighting for.  Education for the civic in Thailand now and in the future must give priority to the history learning on the basis of a social value series international development to provide students with wide-open views and attitudes towards diversity. In addition, they will realize the human and citizenship in democracy of their own, as well as consideration of the ecosystem and the environment that raise our lives

References

กุนนาร์ รุนด์เกรน. (2557). อุทยานแห่งผืนดิน จากการล่าสัตว์และเก็บของป่า สู่ทุนนิยมโลกาภิวัตน์และโลกหลังจากนี้ แปลจากเรื่อง Garden Earth: from Hunter and Gatherer to Global Capitalism and Thereafter โดย เขมลักษณ์ ดีประวัติ และคณะ.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สวนเงินมีมา
โคลเบิร์ต, อลิซาเบธ.(2559). ประวัติศาสตร์นับศูนย์: สู่การสูญพันธุ์ครั้งที่ 6แปลจากเรื่อง The Sixth Extinction: An Unnatural History โดย สุนันทา วรรณสินธ์เบล. กรุงเทพฯ: โอเพ่นเวิลด์ส
ชัยรัตน์ โตศิลา.(2555).การพัฒนากระบวนการเรียนการสอนโดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดทางประวัติศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ทิวาพร ใจก้อน.(2558).รัฐสยามกับการจัดการธรรมชาติ: ประวัติศาสตร์ แนวคิด และความรู้เรื่องศัตรูพืช
ในสังคมไทย พ.ศ. 2435 – 2487. กรุงเทพฯ: พี.เพรส
ธงชัย วินิจจะกูล (2558).เพนกวินถาม-ธงชัยตอบ (แบบไม่ต้องชูป้าย) ว่าด้วยการศึกษาไทยและวิชา
ประวัติศาสตร์.บทสัมภาษณ์ออนไลน์ เข้าถึงใน http://prachatai.com/journal/2015/10/61807
นิธิ เอียวศรีวงศ์ (2559). ประวัติศาสตร์อนุรักษ์นิยมไทย. บทความออนไลน์. มติชนสุดสัปดาห์ 29กรกฎาคม -
4 สิงหาคม; 5- 11 สิงหาคม 2559 เข้าถึงในhttp://www.matichon.co.th/news/248057
บำเพ็ญ ไชยรักษ์ (2556). เมฆปริศนา: ประวัติศาสตร์บอกเล่าเรื่องเหมืองแร่ในเมืองไทย. ศูนย์ประสานงานการพัฒนาระบบและกลไกลการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ.
มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม. (2557). ถอดสรุปประสบการณ์คดีคลิตี้: กว่าจะมีคำพิพากษาคดีประวัติศาสตร์. เข้าถึงใน https://enlawfoundation.org/newweb/?p=792
มูลนิธิสืบนาคะเสถียร. (2561).รายงานสถานการณ์ป่าไม้ไทย 2560-2561. เข้าถึงใน https://goo.gl/yj8jby
รัศมี ชูทรงเดช.(2559). เอกสารประกอบการประชุมวิชาการเรื่อง การปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ก่อน
ประวัติศาสตร์กับสิ่งแวดล้อมบนพื้นที่สูงในอำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน.กรุงเทพฯ: ศูนย์
มานุษยวิทยาสิรินธร
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (2545).เอกสารการสัมมนาเรื่องภูมิศาสตร์กับวิถีชีวิตไทย.กรุงเทพฯ: ศูนย์
มานุษยวิทยาสิรินธร
สมศักดิ์ ประมาณกิจ และวัฒนา สุภวัน. (2550). บทความ หลักฐานมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุด
ในประเทศไทย (อายุ 1 ล้านปี ถึง 4 แสนปี) ใน หนังสือ สืบสายพันธุ์มนุษย์ การศึกษามานุษยวิทยา
กายภาพในประเทศไทย.กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
สำนักข่าวออนไลน์ไทยพับลิก้า. (2556). เดินเท้าคัดค้านอีเอชไอเอเขื่อนแม่วงก์ ข้อเท็จจริงที่ต้องการ “สื่อ”. เข้าถึงใน https://thaipublica.org/2013/09/ehia-meawong-no-dam/
อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์. (2541). การศึกษาพรมแดนความรู้ทางประวัติศาสตร์ด้านนิเวศวิทยาและ
สิ่งแวดล้อม.โครงการประมวลความรู้เพื่อการพัฒนาการวิจัยประวัติศาสตร์ไทย. เชียงใหม่: เอกสารอัด
สำเนา
อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์. (2553). จะรักกันอย่างไรในเมื่อเรายังไม่เข้าใจกัน. กรุงเทพฯ: Oh My God
เอกวิทย์ ณ ถลาง. (2546). ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการจัดการความรู้. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง
Apaichon Sajjaphatanakul. (2018). The Scenario of Future Environmental History Instruction to Develop Sustainable Global Citizenship. Graduate School CHIANG MAI University.
Beck, Ulrich and Elisabeth Beck – Gernsheim.(2002). Individualization: Institutionalized
Individualism and its Social and Political Consequences. London: Sage
Publications.
Carruthers, J. (2013). Enviromental History For An Emerging World. Site in
www.conservationandsociety.org/.../CS_op_ed_jane_carrut
Dovers.(1994).Essays in Australian Environmental History: Essays and
Cases. Oxford: Oxford University Press
Hughes, J Donald (2001).An Environmental History of the World: Humankind's Changing
Role in the Community of Life (Routledge Studies in Physical Geography and
Environment). London: Routledge.
MacEachern, Alan; Turkel, William J (eds). (2009). Method & Meaning in Canadian
Environmental History. Toronto: Nelson Education.
McNeill, J.R. (2010).The Historiography of Environmental History.site in www.eolss.net/
sample-chapters/c09/e6-156-01-00.pdf
Michael, W. (1994).The relations of environmental history and historical geography.
Journal of Historical Geography, 20,1(1994) 3-21
National Council for the Social Studies. (1992). National Curriculum Standards for Social Studies: Executive Summary. [Online] Available from: http://www.socialstudies.
org/standards/Execsummary. [2016, November 29]
The Earth Charter International Council. (2009). The Earth Charter : Available from: http:
//www.earthcharterinaction.org/content/pages/Read-the-Charter.html.[2015, April 17]
Westheimer, J. (2015). What Kind of Citizen? Education Our Children for the Common
Good. New York: Columbia University
Worster, Donald (ed) (1988). The Ends of the Earth: Perspectives on Modern
Environmental History. Cambridge: Cambridge University Press.

Downloads

Published

2018-12-27

How to Cite

สัจจะพัฒนกุล อ. (2018). ประวัติศาสตร์สิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน: การเรียนรู้สู่การสร้างพลเมืองที่มุ่งเน้นความเป็นธรรมทางสังคมและสิ่งแวดล้อมในบริบทไ ; Environmental History for Sustainable Development: Learning Towards Preparing Social and Eco-Justice Oriented Citizen in Thai Context. JOURNAL OF LANGUAGE, RELIGION AND CULTURE, 7(2), 273–304. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/gshskku/article/view/132682

Issue

Section

บทความวิจัย