A Comparative Study on the Information Service to Develop Study Skills of the Students in Faculty of Education Khon Kaen University Using Homepage and Group Guidance (การเปรียบเทียบการให้บริการสนเทศเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนของนักศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทย

Authors

  • สายชล สิงห์สุวรรณ (Saichon Singhsuwan) Khon Kaen University
  • ไพศาล สุวรรณน้อย (Paisan Suwannoi) Khon Kaen University
  • ฉันทนา กล่อมจิต (Chantana Klomjit ) Khon Kaen University
  • มัลลวีร์ อดุลวัฒนศิริ (Mallawee Adulwatlanasiri ) Khon Kaen University

Keywords:

Study skills, Homepage, Group Guidance

Abstract

The purpose of this quasi-experimental research was to compare between the Information Service to develop study skills of the second year students in Faculty of Education Khon Kaen University by using Homepage and Group Guidance. The samples were 30 students, they were all voluntarily participated. Using random assignments, then they were assigned to 2 experimental groups, 15 students each. The first experimental group learned the study skills by the Homepage while the second experimental group received the Group Guidance Program. The Pretest -Posttest was used as the experimental design. The instruments employed were 1) the Study Skills Test adapted from the Study Skills Survey developed by Chantana Klomjit 2) the Homepage created by the  reseacher and  3) the Group Guidance  Program constructed by the researcher. The result revealed that the experimental group using the Homepage could develop higher stud y skills and could develop as well as the experimental group using the Group Guidance Program at the 0.05 level of significance.

 

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อเปรียบเทียบการให้บริการสารสนเทศเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนโดยใช้โฮมเพจและการแนะแนวแบบกลุ่ม กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 2 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นที่สมัครใจเข้าร่วมการวิจัยจำนวน 30 คน โดยสุ่มตัวอย่างเข้ากลุ่มทดลอง 2 กลุ่มและให้ทดสอบก่อนและหลังการทดลองด้วยแบบวัดทักษะการเรียน กลุ่มทดลองที่ 1 ได้รับบริการสารสนเทศด้วยโฮมเพจและกลุ่มทดลองที่ 2 ได้รับการแนะแนวแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้มีดังนี้ 1) แบบวัดทักษะการเรียน พัฒนาจากแบบสำรวจทักษะการเรียนของฉันทนา กล่อมจิต(2537) 2) โฮมเพจเพื่อพัฒนาทักษะการเรียน สร้างโดยผู้วิจัย และ 3) ชุดการแนะแนวแบบกลุ่มเพื่อพัฒนาทักษะการเรียน สร้างโดยผู้วิจัย ผลการศึกษาพบว่านักศึกษาที่ได้รับบริการสนเทศเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนด้วยโฮมเพจและการแนะแนวแบบกลุ่มมีทักษะการเรียนดีขึ้นและไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระกับ 0.05

Downloads

Additional Files

Published

2015-02-15

Issue

Section

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี