A Comparison of Learning Achievement on Human Mechanism Between Constructivist Teaching Strategies Based on Underhill and the Traditional Approach. (การเปรียบเทียบผลสัมฤิทธิ์ทางการเรียน เรื่อง กลไกมนุษย์ระหว่างการสอนตามแนวคอนสตรัคติริสซิมของ Underhill กับ

Authors

  • ทิพสุคนธ์ ไชยราช (Thipsukhon Chaiyarn1) Khon Kaen University
  • ดร. วรรณจรีย์ มังสิงห์ (Dr. Wancharee Mungsing) Khon Kaen University
  • ฉวีวรรณ นาระคล (Chaveewan Narakol) Khon Kaen University

Keywords:

constructivism, human mechanism, Underhill, learning achievement

Abstract

The purpose of this stud y was to compare learning achievement on hum an mechanism between constructivist teaching strategies based on Underhill and the traditional approach. The sample consisted of 60 Mathayom Suksa II students of Paoob Na Nakorn 1 School, Amphoe Phosai, Changwat Ubon Ratchatani in the first semester of the academic year of 2 001. The experiment of the research was performed by pretest -posuest-control group design . Nine lesson plans utilized the constructivist teaching strategies based on Underhill and the traditional approaches were constructed for this investigation and 40 items of the test. Analysis of the collected data was done by using a t -test. The result s of the stud y showed that student s taught by constructivist strategies based on Underhill had higher learning achievement than those being taught by tradition al approach significantly at 0.01.

 

การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง กลไกมนุษย์ระหว่างการสอนตามแนวคิดของทฤษฎีคอนสตรักติวิสซึมของ Underhill กับการสอนตามปกติ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 60 คน ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2544 โรงเรียนผอบ ณ นคร 1 อำเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี รูปแบบการวิจัยในครั้งนี้เป็นแบบ pretest -posttest-control group design เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยนี้คือ แผนการสอนตามแนวคอนสตรักติวิสซึมของ Underhill และแผนการสอนตามปกติ ซึ่งผู้วิวจัยสร้างขึ้นเองอย่างละ 9 แผนการสอน และแบบวัดความรู้วิชาวิทยาศาสตร์จำนวน 40 ข้อ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์โดยการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนที่เรียนโดยใช้การสอนตามแนวคอนสตรักติวิสซึมของ Underhill มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่านักเรียนที่เรียนโดยการสอนตามปกติอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01

Downloads

Additional Files

Published

2015-02-17

Issue

Section

มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์