ผลของการใช้มัลติมีเดียที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสซึม กลุ่มวิชาสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต เรื่อง จักรวาลและอวกาศ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 The Effect of multimedia Development Based on constructivism in the Area of Life Experiences on the Topic of “Univers

Authors

  • สัณห์สุดา พลธรรพ (Sansuda Pontam) Khon Kaen University
  • ดร.สุมาลี ชัยเจริญ (Dr.Sumalee Chaijaroen) Khon Kaen University
  • วรกิต วัดข้าวหลาม (Worakit Watkhaolarm) Khon Kaen University

Keywords:

Multimedia developed based on Constructivism, Mental Model

Abstract

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้มัลติมีเดียที่พัฒนาตามแนวคอนสตร้คติวิอซึม โดยศึกษาผลส้มฤทธี้ทางการเรียนของผู้เรียน รูปแบบการทำความเช้าใจของผู้เรียน และความติดเห็นของผู้เรียนที่ มีต่อมัลติมีเติยที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสซึม กลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต เรื่อง จักรวาลและอวกาศ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มตัวอย่างที่ใซในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2545 โรงเรียนสนามบิน อ.เมีอง จ.ขอนแก่น จำนวน 54 คน ที่ไดัมาจากการลุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใซในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย 1) นัลติมีเดียที่พัฒนาตามแนวคอนสตร้คติวิสซึม

2)        แบบทดสอบวัดผลส้มฤทธทางการเรียน จำนวน 20 ข้อ ที่มีค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับเท่ากับ 0.73

แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เรียน 4) แบบส้มภาษณ์เกี่ยวกับรูปแบบการทำความเช้าใจ รูปแบบการวิจัย เป็นแบบที่มีกลุ่มทดลองเพียงกลุ่มเดียว มีการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน การวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบดัวย ข้อมูลเซิงปริมาณในการเปรียบเทียบคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้การทดสอบค่าที (t-test) ส่วนข้อมูลเซิง คุณภาพใช้การอธิบายและติความข้อมูลที่ใดัจากการส้มภาษณ์ ผลการวิจัยพบว่า

1)     ผลลัมฤทธทางการเรียนของผู้เรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยมัลติมีเดียที่พัฒนาดามแน-1 คอนสตรัค-ติวิสซึม มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

2)        รูปแบบการทำความเข้าใจในการเรียน พบลักษณะ 4 แบบ โดยแต่ละแบบจะมีลักษณะร่วมแอ*:ด่-■1^

กล่าวคือ ผู้เรียนเริ่มเผชิญปัญหาและทำการปรึกษาหารือร่วมกัน เมื่อแก้ปัญหาไม,ได้ ในรูปแบบที่ 1 ไค้1(0 คำแนะน่าจากผู้ช่วย (Coaching) พบแนวทางการแก้ปัญหาแลัวตอบคำถาม รูปแบบที่ 2 ได้ขอคำแนะนำจๅก ผู้ช่วย แต่ยังไม่พบแนวทางการแก้ปัญหา เข้าไปในธนาคารข้อมูล (DATA BANK) วิเคราะห์ อภิปราย นละสรูป การแก้ปัญหา แลัวตอบคำถาม ส่วนรูปแบบที่ 3ได้ขอคำแนะนำจากผู้ช่วย แต่ยังไม่พบแนวทางการแก้ปัญหา รภิปราย และสรุปหาแนวทางการแก้ปัญหาแต่ยังไม่ซัดเจน ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญที่อยู่ในฐานให์ความช่วยเหลือ(Scaffolding)

แลัวจึงสรุปการแก้ปัญหาและตอบคำถาม และรูปแบบที่ 4 ได้ขอคำแนะน่าจากผู้ช่วย แต่ยังไม่พบแนวทางการแก้ ปัญหาเข้าไปในธนาคารข้อมูล วิเคราะห์ อภิปราย และสรุปหาแนวทางการแก้ปัญหา แต่ยังไม่ชัดเจน เชัไไป ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญที่อยู่ในฐานให้ความช่วยเหลือ แล้วจึงสรุปการแก้ปัญหาและตอบคำถาม

3)      การคืกษาความคิดเห็นของผู้เรียน พบว่ามีความคิดเห็นต่อการเรียนด้วยมัลติมีเดึยที่พัฒนาดามแนว คอนสตรัคติวิสซึมกลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต เรื่อง จักรวาลและอวกาศ ที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ชองผู้เรียนอยู่ ในระดับมากที่สุด คือ มัลติมีเดียช่วยเชื่อมโยงประสบการณ์กับชีวิตจริงของผู้เรียน และส่งเสริมให้เรียนรู้ได้ด้วยดนเอง มีอิสระในการเรียนเลือกคันคว้าตามความสนใจ นักเรียนมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา และได้แลกเปลี่ยนความคิด

เห็นชี่งกันและกัน

This study aimed to examine the effect of using multimedia developed based on Constructivism. The purposes of this study were 1) to construct a multimedia developed based on Constructivism 2) to study the learners’ learning achievement, 3) to examine the learners’ mental models while they were learning from multimedia 4) to explore the learners’ opinions towards the multimedia developed based

on Constructivism in the Area of Life Experiences on the Topic of “Universe and space” for sixth-prade

The sample consisted of 54 sixth-grade learners in Sanambin school, Khon Kaen province during the second semester of the 2002 academic year. The cluster Random Sampling was employed in this study. The instruments used in the study included 1) a multimedia developed based on Constructivism by the researcher. 2) 20 items of four choice achievement test on the Area of life experiences on the topic of “Universe and space” which had reliability .73 3) the questionnaire used to collect learners opinions towards the multimedia developed based on Constructivism 4) the interview questionnaire of the learners’ mental models that they constructed while they were learning from multimedia developed based on Constructivism. One group Pretest-Posttest Design was employed in the study. The results^

1)   The learning achievement revealed high after study. The comparison of pretest/posttest score by the t-test showed that there were significantly different at the level of 0.05.

2)    There were 4 different patterns of the learners’ mental models that they constructed for understanding the learning content in multimedia developed based on Constructivism. It was found that when the learners encounter the problem, which they cannot solve, the first and the second group will ask for suggestion from coach until they can solve the problem. But when the solution still cannot found, they access to the Data Bank, to analyze, discuss, solve and answer the question. The third group did the same as the first one and ask the experts who work as scaffolding. The fourth group did the same and also ask the expert.

The learners’ opinions toward learning from multimedia were found that they were satisfied with the learning activities. Furthermore, they thought that learning from multimedia result in self-regulation in their learning, encourage them in participation in problem solving process especially, in the authentic learning 

Downloads

Published

2015-03-03

Issue

Section

มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์