วาระเขียวและความสัมพันธ์ทางสังคมเกี่ยวกับที่ดิน: สถานะความรู้หลังปี 2543

ผู้แต่ง

  • ณัฐกานต์ อัครพงศ์พิศักดิ์

คำสำคัญ:

วาระเขียว, ความสัมพันธ์ทางสังคมเกี่ยวกับที่ดินในประเทศไทย

บทคัดย่อ

ท่ามกลางการขยายตัวของโครงการและกิจกรรมที่มีจุดมุ่งหมาย เพื่อบรรเทาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศทั้งในระดับ ประเทศและระดับโลก กลับปรากฏว่า ในแวดวงการศึกษาของไทยยัง ขาดแคลนการทบทวนสถานะความรู้ในประเด็นที่เกี่ยวข้องอย่างมีระบบ บทความนจี้งึนาำเสนอสถานะความรเู้กยี่วกบัความสมัพนัธท์างสงัคมเกยี่วกบั ที่ดินเฉพาะประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ “วาระเขียว” โดยเน้นสำารวจกระบวนการ ที่อำานาจในรูปแบบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องตัดผ่านกัน (intersect) ทั้งนี้ บทความ ชี้ให้เห็นว่า กระบวนการใหม่ที่ผลักดันให้ความสัมพันธ์ทางสังคมเกี่ยวกับ ที่ดินในไทยเปลี่ยนแปลงไปนั้นประกอบไปด้วย (ก) การขยายตัวในเชิงพื้นที่ (space) ในการอนุรักษ์ป่าไม้และการบรรลุเป้าหมายออฟเซ็ตของตลาด คารบ์อน (ข) การปรบัสถานะของการเขา้ถงึทรพัยากรบนทดี่นิใหถ้กูกฎหมาย (regularization) ผา่นโครงการปา่ชมุชน (ค) การเปลยี่นแปลงรปูแบบในการใช้ ที่ดินอันเป็นผลจากการเข้ามาของพืชพลังงาน และ (ง) การเคลื่อนไหวรวม หมู่ของชาวบ้านเพื่อต่อต้านการจัดให้ที่ดินที่เดิมสงวนไว้สำาหรับการเกษตรกรรมมาเป็นพื้นที่โครงการพลังงานทางเลือก โดยที่การเคลื่อนไหวดังกล่าว กลายเปน็ประเดน็โตแ้ยง้ในหมชู่าวบา้นดว้ยกนัเอง อนงึ่ ผเู้ขยีนเสนอวา่ การ ทบทวนความรทู้เี่รามเีกยี่วกบักระบวนการเหลา่นชี้ใี้หเ้หน็ถงึความทา้ทายใน การศึกษาความสัมพันธ์ทางสังคมเกี่ยวกับที่ดินในสองประเด็น ได้แก่ การ เติมเต็มคำาอธิบายที่ยังไม่สมบูรณ์ของมโนทัศน์ “การแย่งยึดที่ดิน” และการ ทำาความเข้าใจโครงรูปของอำานาจ ซึ่งทำาให้เกิดความขัดกันของกฎเกณฑ์ ระเบียบ และกระบวนการดำาเนินการให้บรรลุเป้าหมายสีเขียวท่ามกลางการขยายตัวของโครงการและกิจกรรมที่มีจุดมุ่งหมาย เพื่อบรรเทาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศทั้งในระดับ ประเทศและระดับโลก กลับปรากฏว่า ในแวดวงการศึกษาของไทยยัง ขาดแคลนการทบทวนสถานะความรู้ในประเด็นที่เกี่ยวข้องอย่างมีระบบ บทความนจี้งึนาำเสนอสถานะความรเู้กยี่วกบัความสมัพนัธท์างสงัคมเกยี่วกบั ที่ดินเฉพาะประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ “วาระเขียว” โดยเน้นสำารวจกระบวนการ ที่อำานาจในรูปแบบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องตัดผ่านกัน (intersect) ทั้งนี้ บทความ ชี้ให้เห็นว่า กระบวนการใหม่ที่ผลักดันให้ความสัมพันธ์ทางสังคมเกี่ยวกับ ที่ดินในไทยเปลี่ยนแปลงไปนั้นประกอบไปด้วย (ก) การขยายตัวในเชิงพื้นที่ (space) ในการอนุรักษ์ป่าไม้และการบรรลุเป้าหมายออฟเซ็ตของตลาด คารบ์อน (ข) การปรบัสถานะของการเขา้ถงึทรพัยากรบนทดี่นิใหถ้กูกฎหมาย (regularization) ผา่นโครงการปา่ชมุชน (ค) การเปลยี่นแปลงรปูแบบในการใช้ ที่ดินอันเป็นผลจากการเข้ามาของพืชพลังงาน และ (ง) การเคลื่อนไหวรวม หมู่ของชาวบ้านเพื่อต่อต้านการจัดให้ที่ดินที่เดิมสงวนไว้สำาหรับการเกษตรกรรมมาเป็นพื้นที่โครงการพลังงานทางเลือก โดยที่การเคลื่อนไหวดังกล่าว กลายเปน็ประเดน็โตแ้ยง้ในหมชู่าวบา้นดว้ยกนัเอง อนงึ่ ผเู้ขยีนเสนอวา่ การ ทบทวนความรทู้เี่รามเีกยี่วกบักระบวนการเหลา่นชี้ใี้หเ้หน็ถงึความทา้ทายใน การศึกษาความสัมพันธ์ทางสังคมเกี่ยวกับที่ดินในสองประเด็น ได้แก่ การ เติมเต็มคำาอธิบายที่ยังไม่สมบูรณ์ของมโนทัศน์ “การแย่งยึดที่ดิน” และการ ทำาความเข้าใจโครงรูปของอำานาจ ซึ่งทำาให้เกิดความขัดกันของกฎเกณฑ์ ระเบียบ และกระบวนการดำาเนินการให้บรรลุเป้าหมายสีเขียว

Author Biography

ณัฐกานต์ อัครพงศ์พิศักดิ์

หน่วยงานสังกัด            ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ประจำวิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ความสนใจทางวิชาการ     ความสนใจทางวิชาการในประเด็นการเมืองภาคการเกษตร

                                        การเมืองเรื่องสิ่งแวดล้อม และการเมืองในชีวิตประจำวัน

วุฒิการศึกษา               PhD in Political Science and International Relations จาก Australian National University ประเทศออสเตรเลีย             

ที่อยู่ติดต่อกลับ             วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

                                     อีเมล [email protected]

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-10-03