การวิเคราะห์รูปประโยคความซ้อนภาษาไทยในหนังสือเรียนสำหรับผู้เรียน ระดับประถมศึกษาปีที่ 4-6

Main Article Content

หนึ่งฤทัย ชวนะลิขิกร
ปิยะวรรณ์ สุธารัตน์
ประเมิน เชียงเถียร

บทคัดย่อ

งานวิจัยฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อวิเคราะห์ประโยคความซ้อนในภาษาไทยสำหรับผู้เรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 4-6 ที่ปรากฏในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 โดยเป็นหนังสือเรียนที่จัดพิมพ์โดยองค์การค้าของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) จำนวน 64 เล่ม ตั้งแต่ปีพ.ศ.2553-2559 กลุ่มสาระการเรียนรู้ จำนวน 7 กลุ่ม คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ และการงานอาชีพและเทคโนโลยี ผู้วิจัยจะประยุกต์ใช้แนวคิดเรื่องประโยคความซ้อนของวิจินตน์ ภาณุพงศ์ และคณะ (2552) ในการวิเคราะห์ประโยคความซ้อนที่จำแนกประโยคตามโครงสร้างโดยพิจารณาจากลักษณะเฉพาะของส่วนประกอบของประโยค ลักษณะการเชื่อมประโยคย่อยเข้าเป็นประโยคเดียวกันที่มีขนาดใหญ่กว่า


ผลการศึกษาพบว่า ประโยคความซ้อนที่ปรากฏในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 จำนวนทั้งหมด 1,054 ประโยค โดยพบโครงสร้างที่แบ่งตามอนุประโยคได้เป็น 3 ชนิด คือ ประโยคความซ้อนที่มีคุณานุประโยค พบจำนวน 473 ประโยค คิดเป็นร้อยละ 44.88ประโยคความซ้อนที่มีวิเศษณานุประโยค พบจำนวน 433 ประโยค คิดเป็นร้อยละ 41.08 และประโยคความซ้อนที่มีนามานุประโยคพบจำนวน 148 ประโยค คิดเป็นร้อยละ 14.04

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Aonsawat, A. (2008). Research Methodology. Phisanulok: Naresuan University

อรุณี อ่อนสวัสดิ์. (2551). ระเบียบวิธีวิจัย. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.

Hengsomboon, J. (1999).Fundamental Linguistics. Bangkok: Suwiriyasan.

จินดา เฮงสมบูรณ์. (2542). ภาษาศาสตร์เบื้องต้น.กรุงเทพฯ:สุวีริยาสาส์น.

Jutiprapak, W. (1999). A Study on the mistake in writing Thai of Prathom 5 student in Songkhla Provincial Administrative Body, Amphoe Muang, Songkhla Province, Academic Year 1999. Master Thesis of Education. Thai Language Department, Thaksin University.

วิลาวรรณ จุติประภาค. (2542). ศึกษาลักษณะข้อผิดพลาดในการเขียนภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ในโรงเรียนสังกัดเทศบาลเมืองสงขลา อำเภอเมือง จังหวัดสงขลาปีการศึกษา 2542. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิตสาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยทักษิณ.

Khamey, S. (1996). Effects of Linguistics based instructional package of Thai usage for Mathayomsuksa 1 students. Master Thesis of Education. Department of Thai Language Teaching, Chiang Mai University.

สำราญ คำอ้าย. (2539). ผลการใช้ชุดการสอนหลักภาษาไทยตามแนวภาษาศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

Khumsab, N. (1984). Children at the age between 3 years 6 months to 5 years 6 month’s perception of Thai complex sentences. Master Thesis of Education, Educational Linguistics Department, Srinakharinwirot University.

แน่งน้อย คุ้มทรัพย์. (2527). การรับรู้ประโยคความซ้อนภาษาไทยของเด็กวัย 3 ปี 6 เดือน ถึง 5 ปี 6 เดือน. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์การศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

Krachaikiat, N. (2002). Syntactic development in story telling of thai children. Master Thesis of Arts. Department of Linguistics, Chulalongkorn University.

นิรัติศัย กระจายเกียร. (2545). พัฒนาการทางวากยสัมพันธ์ของเด็กไทยในการเล่าเรื่อง. วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Ministry of Education, Department of Curriculum and Instruction Development. (1994). Thai Language Teacher Manual Thai Grammar for Secondary Level B. E. 1978 (Revised Edition B. E. 1990). Bangkok: Khurusapha Latprao.

กระทรวงศึกษาธิการ กรมวิชาการ. (2537). คู่มือครูภาษาไทย หลักภาษาไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2533). กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.

Ministry of Education, Office of the Basic Education Commission. (2014a). Basic Course Textbook: Dancing Art for Prathomsuksa1. Bangkok: Printing Press of the Office of the Welfare Promotion Commission for Teachers and Educational Personnel Latprao.

กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2557ก). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน นาฏศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.

Ministry of Education, Office of the Basic Education Commission. (2014b). Basic Course Textbook: History for Prathomsuksa 1. Bangkok: Printing Press of the Office of the Welfare Promotion Commission for Teachers and Educational Personnel Latprao.

กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2557ข). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.

Ministry of Education, Office of the Basic Education Commission. (2014c). Basic Course Textbook: Health Loving Prathomsuksa 1. Bangkok: Printing Press of the Office of the Welfare Promotion Commission for Teachers and Educational Personnel Latprao.

กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2557ค). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน รักสุขภาพ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.

Ministry of Education, Office of the Basic Education Commission. (2014d). Basic Course Textbook: Health Loving Prathomsuksa2. Bangkok: Printing Press of the Office of the Welfare Promotion Commission for Teachers and Educational Personnel Latprao.

กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2557ง). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน รักสุขภาพ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.

Ministry of Education, Office of the Basic Education Commission. (2014e). Basic Course Textbook: Health Loving Prathomsuksa 5. Bangkok: Printing Press of the Office of the Welfare Promotion Commission for Teachers and Educational Personnel Latprao.

กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2557จ). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน รักสุขภาพ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.

Ministry of Education, Office of the Basic Education Commission. (2015a). Basic Course Textbook: Thai Language PhasaPhathi for Prathomsuksa 3, Language for Life Series. Bangkok: Printing Press of the Office of the Welfare Promotion Commission for Teachers and Educational Personnel Latprao.
กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2558ก). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุดภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาทีชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.


Ministry of Education, Office of the Basic Education Commission. (2015b). Basic Course Textbook: Thai Language PhasaPhathi for Prathomsuksa 6, Language for Life Series. Bangkok: Printing Press of the Office of the Welfare Promotion Commission for Teachers and Educational Personnel Latprao.

กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2558ข). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุดภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาทีชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.

Ministry of Education, Office of the Basic Education Commission. (2016a). Basic Course Textbook: Civic Duty, Culture, and Living in Society, Economics and Geography for Prathomsuksa 1, Language for Life Series. Bangkok: Printing Press of the Office of the Welfare Promotion Commission for Teachers and Educational Personnel Latprao.

กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2559ก). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคม เศรษฐศาสตร์ และภูมิศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.

Ministry of Education, Office of the Basic Education Commission. (2016b). Basic Course Textbook: Civic Duty, Culture, and Living in Society, Economics and Geography for Prathomsuksa 4, Language for Life Series. Bangkok: Printing Press of the Office of the Welfare Promotion Commission for Teachers and Educational Personnel Latprao.

กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2559ข). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคม เศรษฐศาสตร์ และภูมิศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.

Ministry of Education, The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology. (2014). Basic Course Textbook: Information Technology and Communication for Prathomsuksa 1. Bangkok: Office of the Welfare Promotion Commission for Teachers and Educational Personnel’s Publisher Latprao.

กระทรวงศึกษาธิการ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2557). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.

Ministry of Education, The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology. (2015a). Basic Course Textbook: Mathematics for Prathomsuksa 3. Bangkok: Office of the Welfare Promotion Commission for Teachers and Educational Personnel’s Publisher Latprao.

กระทรวงศึกษาธิการ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2558ก). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.

Ministry of Education, The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology. (2015b). Basic Course Textbook: Mathematics for Prathomsuksa 4. Bangkok: Office of the Welfare Promotion Commission for Teachers and Educational Personnel’s Publisher Latprao.

กระทรวงศึกษาธิการ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2558ข). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.

Ministry of Education, The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology. (2015c). Basic Course Textbook: Science for Prathomsuksa 3. Bangkok: Printing Press of the Office of the Welfare Promotion Commission for Teachers and Educational Personnel Latprao.

กระทรวงศึกษาธิการ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2558ค). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.

Phanuphong, W. et al. (2009). Standard of Thai Language 3: Part of Speech, Types of Phrases, Sentences, and Discourse. Bangkok: Thai Language Institute, Bureau of Academic Affairs and Educational Standards Office of the Basic Education Commission, Ministry of Education.

วิจินตน์ ภาณุพงศ์ และคณะ (2552). บรรทัดฐานภาษาไทยเล่ม 3 : ชนิดของคำ วลี ประโยคและสัมพันธสาร. กรุงเทพฯ: สถาบันภาษาไทย สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

Pheanchop, S., & Inthramphan, S. (1995). Thai Language Teaching Methods in MatthayomSuksa Level. Bangkok: Chulalongkorn University Press.

สุจริต เพียรชอบ และสายใจ อินทรัมพรรย์. (2538). วิธีสอนภาษาไทยระดับมัธยมศึกษา.กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Rungrawee, S. (1993). Writing Books for Children. Department of Thai Language, Faculty of Humanities and Social Sciences Pranakhon Sri AyutthayaTeachers’ College.

สัมพันธ์ รุ่งระวี. (2536). การจัดทำหนังสือสำหรับเด็ก. พระนครศรีอยุธยา: ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ วิทยาลัยครูพระนครศรีอยุธยา.

Rungsuriyapan, W. (1990). An analysis of sentence structures in the books for three to five-year-old children (B. E. 1983-1987 Award-winning Edition): Comparative Study. Master Thesis of Arts, Department of Thai Language, Thammasat University.

วีนา พรรุ่งสุริยะพันธ์. (2533). การวิเคราะห์โครงสร้างประโยคของหนังสือสำหรับเด็กวัย 3-5 ปี ฉบับชนะการประกวดปี พ.ศ.2526-2530: การศึกษาเชิงเปรียบเทียบ.วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์.

Sirising, W. (2008). Creating Literatures for Children and Youth. Bangkok: Suwiriyasan.

วิริยะ สิริสิงห. (2551). การสร้างสรรค์วรรณกรรมสำหรับเด็กและเยาวชน. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

Suwanthada, N. (1991). Fundamental Knowledge of Linguistics. In Thai language eaching document 3 Unit 1. Bangkok: Sukhothai Thammathirat University.

นภาลัย สุวรรณธาดา. (2534). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชาภาษาศาสตร์. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาภาษาไทย 3 หน่วยที่ 1. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.