สารบัญ

บทความที่ตีพิมพ์ซ้ำซ้อน (10 กุมภาพันธ์ 2564)"

เนื่องด้วยวารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ได้ตรวจพบการตีพิมพ์บทความซ้ำซ้อนผ่านเว็บไซต์ของ TCI
เรื่อง กลวิธีทางภาษาที่ใช้ในการตอบรับการตักเตือนในภาษาไทยและข้อคำนึงที่เป็นเหตุจูงใจ
ตีพิมพ์ในวารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลฯ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2562 
ตีพิมพ์ซ้ำซ้อนกับบทความของตนเองมากกว่า 8 ฉบับ โดยความซ้ำซ้อนที่ถูกตรวจพบมากที่สุด จำนวน 3 บทความ ดังนี้

1. การตอบปฏิเสธการแสดงความปรารถนาดีในภาษาไทย:  การศึกษากลวิธีทางภาษา และข้อคำนึงที่เป็นเหตุจูงใจ
ตีพิมพ์ : วารสารคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (2017):  (มกราคม - มิถุนายน 2560)

2. การทวงถามในภาษาไทย : การศึกษากลวิธีทางภาษาและข้อคำนึงที่เป็นเหตุจูงใจ 
ตีพิมพ์ : วารสารกระแสวัฒนธรรม ปีที่ 18 ฉบับที่ 33 มกราคม - มิถุนายน 2560

3. การตำหนิในภาษาไทย : การศึกษากลวิธีทางภาษากับข้อคำนึงที่เป็นเหตุจูงใจ 
ตีพิมพ์ : วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (2017): กรกฎาคม – ธันวาคม 2560

ซึ่งทางวารสารได้ต้องดำเนินการกับบทความและเจ้าของบทความทุกคนดังกล่าวตามแนวปฏิบัติของ TCI ที่ว่าด้วยจริยธรรม/จรรยาบรรณวารสารวิชาการไทย ดังนี้
1. คาดลายน้ำ Detected ในรายการที่บทความปรากฏและลงบนทุกหน้าของบทความ
2. ทำบันทึกอย่างเป็นทางการแจ้งผู้บังคับบัญชาสูงสุดของหน่วยงานของเจ้าของบทความ
3. งดรับพิจารณาบทความของผู้เขียนที่มีชื่อปรากฏเป็นระยะเวลา 3-5 ปี

หากตรวจสอบพบเพิ่มเติมจะได้ดำเนินการและยึดถือเป็นแนวปฏิบัติต่อไป  

เผยแพร่แล้ว: 2019-05-15

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจทำการเกษตรแบบพันธสัญญาของผู้ประกอบการธุรกิจพลังงานไฟฟ้าชีวมวลของไทย

ธเนศ อุ่นปรีชาวณิชย์, สมศักดิ์ พงษ์เดช, นภาภรณ์ ขลุ่ยนาค, ปิยธิดา เปี่ยมงาม, ชลธิชา อยู่พ่วง

216-233