ปรากฏการณ์ทางการเมืองและสังคมที่ปรากฏในบทกวี รางวัลพานแว่นฟ้า ประจำปี ๒๕๖๑

Main Article Content

santi thippana

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปรากฏการณ์ทางการเมืองและสังคมในบทกวี  รางวัลพานแว่นฟ้า ประจำปี ๒๕๖๑ จำนวน ๑๓ เรื่อง โดยการวิจัยเชิงคุณภาพและนำเสนอผลการวิจัยแบบพรรณนาวิเคราะห์ ซึ่งศึกษาตามแนวคิดของสมพร มันตะสูตร (๒๕๒๔) และแนวคิดของสันติ ทิพนา (๒๕๕๘) ผลการวิจัยพบว่า ๑) บทกวีนำเสนอถึงความรักชาติ โดยกล่าวถึงสัญลักษณ์  คือธงชาติ ถึงแม้ธงชาติจะเก่าแสนเก่าหรือขาดเป็นริ้วๆ แต่ยังคงความเป็นธงชาติเช่นเดิม ๒) บทกวีนำเสนอหลักการปกครองของประชาธิปไตย เช่น ความเท่าเทียม หลักสิทธิเสรีภาพ หลักความเสมอภาค  การยอมรับความคิดเห็นของแต่ละฝ่าย และเคารพสิทธิของผู้อื่น ๓) บทกวีนำเสนอความแตกต่างและอิสระ  ทางความคิด สะท้อนให้เห็นว่ายังมีประชาชนที่มีความคิดเห็นที่แตกต่างกัน ๔) บทกวีนำเสนอวิธีการแก้ปัญหาประชาธิปไตยและปัญหาสังคม โดยนำเสนอวิธีการแก้ปัญหาให้ทุกคนในสังคมตระหนักถึงความเท่าเทียมกัน เคารพสิทธิเสรีภาพ การแสดงออกทางความคิด ไม่มีอคติต่อกัน ๕) บทกวีนำเสนอปัญหาของสังคมไทย ชี้ให้เห็นถึงปัญหาของประเทศที่มีมาอย่างยาวนาน  คือ ประชาธิปไตยในประเทศยังไม่สมบูรณ์ โดยเกิดปัญหา  ความขัดแย้งทางความคิดและอุดมการณ์ทางการเมือง ๖) บทกวีนำเสนอภาพการละเล่นในสมัยก่อน  คือ การเล่นกระโดดยาง ซึ่งต้องอาศัยความรักความสามัคคี และการเคารพกฎกติกาในการเล่น


 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

จาตุรี ติงศภัทย์. (2546). “การวิเคราะห์กวีนิพนธ์ (อังกฤษ)”, ใน กวีนิพนธ์ นานาชาติ : การศึกษา
เชิงวิจารณ์. กรุงเทพฯ: คมบาง.

ดวงมน จิตร์จำนงค์. (2543). “แนวคิดสำคัญของกวีนิพนธ์ไทยในยุคโลกาภิวัตน์”, สงขลานครินทร์ฉบับ
สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. 1-13.

ตองนวล แก้วเกลี้ยง. (2558). “ประชาธิปไตยและสิทธิทมนุษยชนในวรรณกรรมการเมืองไทย :
กรณีศึกษาบทกวีการเมืองรางวัลพานแว่นฟ้า (2546-2555)” วารสารสังคมศาสตร์. 11 (2).
41-72

บุญเหลือ เทพยสุวรรณ, ม.ล. (2520). “หัวเลี้ยวของวรรณคดีไทย”, วรรณไวทยากร (วรรณคดี),
(พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.

พัชรินทร์ อนันต์ศิริวัฒน์. (2541). รายงานการวิจัยเรื่องวิเคราะห์แนวคิดทางการเมืองในวรรณกรรมไทย
ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2475-2519. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.

พรเพชร วิชิตชลชัย. (2561). วรรณกรรมรางวัลพานแว่นฟ้า ประจำปี 2561. กรุงเทพฯ:
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

วุฒิสาร ตันไชย. (2560). ประชาธิปไตยไทย : บางมุมมองที่ถูกละเลย ?. วารสารราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
4(1),1-33

สันติ ทิพนา. (2559). “วาทกรรมความรักชาติผ่านบทเพลงของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.)”.
วารสารวิถีสังคมมนุษย์. 4 (1), 174-201.

สันติ ทิพนา. (2558). ปรากฏการณ์ทางสังคมและกลวิธีการนำเสนอเรื่องสั้นในนิตยสารรายสัปดาห์
ปีพุทธศักราช 2555. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

สรศักดิ์ เพียรเวช. (2561). วรรณกรรมรางวัลพานแว่นฟ้า ประจำปี 2561. กรุงเทพฯ: สำเลขาธิการสภา
ผู้แทนราษฎร.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2561). วรรณกรรมรางวัลพานแว่นฟ้า ประจำปี 2561.
กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

สุจิตรา จงสถิตย์วัฒนา. (2541). หวังสร้างศิลป์นฤมิตร เพริดแพร้ว การสืบทอดขนบกับการสร้างสรรค์
วรรณศิลป์ในกวีนิพนธ์ไทยสมัยใหม่. กรุงเทพฯ: โครงการตำราคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.

References

Tingsapat, J. (2003). Poetry analysis (English) in International Poetry: Critical
Study. Bangkok: Khom Bang.

Jitjamnong, D. (2000). Key Concepts of Thai Poetry in Globalization, Songklanakarin
Journal of Social Sciences and Humanities. (January-April) 6th, 1 – 13.

Kaewklieng, T. (2015). Democracy and Human Rights in Thai Political Literature: A Case
Study Political poetry Phan Phan Fah Award (2006-2012).. Journal of Social
Sciences. 11 (2). 41-92.

Debyasuvarn, B. M.L. (1977). The turning point of Thai literature”,Wan Wai
(2nd). Bangkok: Social Sciences and Humanities Textbooks Project. 55 – 156.

Anansiriwat, P. (1998). Research report on the analysis of political concepts
in Thai literature From the year 2475-2517. Phitsanulok:
Naresuan University.

Wichitcholchai, P. (2018). Pan Waen Pha literature Award of annual 2016. Bangkok:
Printing office of the Secretariat of the House of Representatives.

Tunchai, V. (1960). Thai democracy: some views that are ignored Suratthani Rajabhat
Journal.4 (1),.1-33.

Thipphana, S. (2016). "Patriotism discourse through the song of the National Peacekeeping
Council (NCPO)".Journal of Human Social Pathways. 4 (1), 164-201.

Thipphana. (2015). Social phenomena and strategies for presenting short stories in
weekly magazines.Year 2012, Master of Arts Thesis, Rajabhat Maha Sarakham
University.

Pheanwech, S. (2018). Pan Waen Pha literature: Award of annual
2016. Bangkok: Printing office of the Secretariat of the House
of Representatives.

Office of the Secretariat of the House of Representatives. (2018). Pan Waen Pha
literature Award of annual 2016. Bangkok: Printing office of the Secretariat of the House of Representatives.

Chongstatwattana, S. (1998). Wangsangsilp Art Naruemitphet Praew,
Succession, CreationLiterature in modern Thai poetry. Bangkok:
Faculty of Arts, Chulalongkorn University Textbook Project University.