การประเมินความต้องการจำเป็นการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนขนาดเล็ก ในภาคตะวันออก

Main Article Content

issara kullawut

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินความต้องการจำเป็นของการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนขนาดเล็กในภาคตะวันออก รวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ชนิดข้อคำถามคู่ (Dual-response) เก็บข้อมูลกับครูผู้สอนในโรงเรียนสังกัดภาคตะวันออกจํานวน 705 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และวิเคราะห์หาความต้องการจำเป็นด้วยวิธี Modified Priority Needs Indexs แบบปรับปรุง (PNIModified) ผลการวิจัย พบว่า ครูในภาคตะวันออกมีความต้องการจำเป็น การบริหารงานวิชาการของโรงเรียนขนาดเล็กในภาคตะวันออก เรียงลำดับจากมากไปหาน้อยได้แก่ (1) ครูมีความต้องการจำเป็นที่จะพัฒนาด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา (2) การวัดและการประเมินผล (3) การพัฒนาและใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา        (4) การพัฒนาและส่งเสริมให้มีแหล่งเรียนรู้ (5)ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (6) การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ และ           (7) ความสัมพันธ์ของโรงเรียน ผู้ปกครองและชุมชน

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์มนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

กฤตชญา วิเชียรเพริศ, ธีระวัฒน์ เยี่ยมแสง และดิเรก พรสีมา. (2559). ปัจจัยพหุระดับที่มีอิทธิพลต่อ
ประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. Journal of Education Khon Kaen University (Graduate Studies Research), 10(4), 6-12.

คมคาย น้อยสิทธิ์. (2561). ผู้บริหารในยุค 4.0. วารสารครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. 46(4),
40-57.

จุติพร จินาพันธ์ และ สฎายุ ธีระวณิชตระกูล. (2560). แรงจูงใจของครูที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียน
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 18. วารสารศึกษาศาสตร์ 28(2), 267-283.

โชดก ปัญญาวรานันท์ ปองสิน วิเศษศิริ. (2558). การพัฒนานโยบายการบริหารงานวิชาการที่ส่งผล
ทางบวกต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร.
วารสารวิชาการมหาวิทาลัยเอิสเทิร์นเอเชีย ฉบับสังคมศาสตร์และมนุยศาตร์, 5(2), 76-86.

เทียมจันทร์ พานิชย์ผลินไชย. (2558). การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวจิตตปัญญาศึกษาเพื่อ
พัฒนาครูระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน.: วารสารมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร (สทมส.), 21(1),
55-66.
นงลักษณ์ ใจฉลาด และคณะ. (2558). การศึกษาสภาพและความต้องการพัฒนาสมรรถนะการบริหาร การ
จัดการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21. วารสารครุพิบูล, 2(1), 35-46

ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2559). ปรัชญาการศึกษาเชิงสร้างสรรค์และผลิตภาพ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

มนตรี รัตนจิตภิญโญ. (2554). ปัจจัยเชิงสาเหตุพหุระดับประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัด
สงขลา. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ.

เยาวดี รางชัยกุล วิบูลย์ศรี. (2550). การประเมินโครงการแนวคิดและแนวปฏิบัติ. (พิมพ์ครั้งที่ 6).
กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

รุ่งชัชดาพร เวหะชาติ. (2550). การบริหารงานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัย
ทักษิณ.สงขลา: มหาวิทยาลัยทักษิณ.

รุจิร์ ภู่สาระ และจันทรานี สงวนนาม. (2545). การบริหารหลักสูตรในสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: บุ๊คพอยท์.

วรลักษณ์ คำหว่าง นงลักษณ์ ใจฉลาด. (2560). แนวทางพัฒนาทักษะครูในศตวรรษที่ 21 สังกัดสําานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาในจังหวัดพิษณุโลก. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, 6(1), 129-138.

วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.

ศราวุธ คามวัลย์ กชพร นำนาผล และดาวรุวรรณ ถวิลการ. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับ
ชุมชน : กรณีศึกษาโรงเรียนหนองพอกพัฒนา ประชานุสรณ์ อำเภอหนองพอก สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3. วารสารช่อพะยอม, 28(1),79-86.

สรคุปต์ บุญเกษม, สันติศักดิ์ กองสุทธิ์ใจ และวินัย รังสินันท์. (2560). ปัจจัยการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อ
ประสิทธิผลโรงเรียนขนาดเล็กในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดนครสวรรค์. Humanities and Social Sciences Journal of Graduate School, Pibulsongkram Rajabhat University, 11(1), 217-230.

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2558). นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พื้นฐานปีงบประมาณ พ.ศ. 2559

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2556). ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารการศึกษา. สืบค้น
เมื่อ13 กันยายน 2561, จาก https://data.bopp-obec.info/emis.

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2558). คู่มือบริหารจัดการเวลาเรียน ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
เข้าถึงได้. จาก https://academic.obec.go.th/web/node/460.

สุวิมล ว่องวานิช. (2558). การวิจัยประเมินความต้องการจำเป็น. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.

อาอีด๊ะ ยีเจ๊ะนิ. (2556). ปัจจัยเชิงสาเหตุระดับที่ส่งผลต่อประสิทธิผลโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามใน
จังหวัดชายแดนภาคใต้. ดุษฎีนิพนธ์สาขาวิจัยวัดผลและสถิติการศึกษา, คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

อิสระ กุลวุฒิ สุรีพร อนุศาสนนันท์ และสมพงษ์ ปั้นหุ่น. (2560). การประเมินความต้องการจำเป็นด้าน
การรู้การประเมินในชั้นเรียนของครูในภาคตะวันออก. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 36(4), 7-14.

ฮิลฮาม อาเก็ม. (2557). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของ โรงเรียนเอกชนสอน
ศาสนาอิสลามในจังหวัดสตูล. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

David, G., & Thomas, M. A. (1989). Effective schools and effective teacher. Boston: Allyn
And Bacon.

Hair, J., Black, W., Anderson, R.E. & Tatham, R. (1998). Multivariate Data Analysis, (5thed),
Prentice-Hall, Englewood Cliffs, NJ.

Hoy, W. K., & Miskel, C. G. (2008). Educational administration: Theory, research and
practice (8thed). Singapore: McGraw Hill.

Kenny, D. A. (2015). Measuring Model Fit. Retrieved from
https://davidakenny.net/cm/fit.htm

Kijai, J.. (1987). “School : Effectiveness Characteristics and School Incentive Reward,”
Dissertation Abstracts International. 48(04) : 329-A.

Lunenberg, C. F.; & Ornstein, C. A. (2004). Educational administration: Concepts and
practices (4thed). California: Wadsworth.

Pendley, K. L. (1986). Effective educational leadership: Its relationship to personality characteristics, interpersonal behaviors and leadership style. Dissertation Abstracts
International, 47(1), 43-A.

Reid, K, Hopkins, D., & Holly, P. (1988). Towards the effective school: The problems and
some solution. Oxford: Basil Blackwell.

Reid, K, Hopkins, D., & Holly, P. Blackwell. (1988). Towards the effective school: The
problems and some solution. Oxford: Basil


References

Aidah Yejanih. (2013). Multi –level causal model of factors affecting Islamic private
school effectiveness in the border provinces. Dissertation Educational Research
and Statistics, Education, Chonburi: Burapha University.

Bureau of Academic Affairs and Educational Standards. (2015). Guide Management
“Reduce study, increase time to know. Retrieved from
https://academic.obec.go.th/web/ node/460.

Chodok Panyawaranun. (2015). The Policy Development on Academic Affairs
Management that Yield Positive Impact on Student’s Learning in School under
Bangkok Metropolitan Administration. Journal of academic, Eastern Asia
University. Humanities and Social Sciences, 5(2), 76-86

Hilham arkem. (2013). Factors Affecting the Academic Administrtion of Private Islamic
Schools in Satun provinces. Master of Educational Administration, Songkhla
Province: Prince of Songkla University.

Issara kullawut, sureeporn anusasananan, sompong panhoon. (2017). Needs Assessment
in Classroom-based Assessment Literacy of Primary School Teachers in the East
of Thailand. Journal of Humanities and Social sciences Mahasarakham
University.36(4), 7-14.

Jutiporn Jinapan sadayu, sadayu teeravanittrakul. (2017). Teachers’ Motivation
Affected to School Effectiveness under the Secondary Educational Service
Area Office 18.Journal of Education, 28(2), 267-283. Chonburi: Chonburi
University.

Komkay Noysit. (2018). Manager in thailand 4.0. Journal of Education
Chulalongkorn University, 46(4), 40-57.

Kritchaya Vichaenprird, Teeravat Yeamseang, Direk Pronsima. (2016). The
Multilevel Factors Effecting on the Effectiveness of Administration of the
Extended Secondary School in the Northeast Region of Thailand. Journal
of Education Khon Kaen University (Graduate Studies Research), 10(4),
6-12.

Mobtree Rattanajittapinyo. (2011). The multilevel causal Factor of School Effectiveness
in Songkhla Province. Master of Education Program in Educational
Administration, Thaksin University.

Nonlak Jaichalad et al. (2015). A study Condition and Needs Development of
Competency Learning Management of School Administrators in 21stCentury.
Karupibul Journal (Thai). 2(1), 35-46.

Office of the Basic Education Commission. (2011). Information System for Educational
Administration. Retrieved 13 September 2017, From https://data.bopp-
obec.info/emis.

Office of the Basic Education Commission. (2011). Policy of the Office of the Basic
Education Commission 2016. Retrieved from https://plan.bopp-
obec.info/tmp/upload/ 2015-05-25-08-55-53.pdf.

Pitoon Sinlarat. (2016). Creative education philosophy and image production. Bangkok:
Chulalongkorn University Press.

Ruji Poosara Jantra sa-ngoannam. (2007). Curriculum management in educational
institutions. Bangkok: Bookpoint.

Rungchatchadaporn Vehachart. (2007). Adminstrational management and school base
basic Songkhla: Thaksin University.

Sarawut khammawan, KotchapornNumnaphol and Dawruwan Thawinkarn. (2017). The
Relation Between Schools and Communities : A Case Study of Nongpokpattana
prachanusorn School, Nongpok. Choprarom Journal (Thai), 28(1), 79-86,.

Sorakoob Boongasem, Suntisak Klongsutjai, and Winai Rungsinan. (2017). Administrative
factors affecting small schools effectiveness in NakhonsawanPrimary
Educational Service Area Office. Humanities and Social Sciences Journal of
Graduate School, Pibulsongkram Rajabhat University, 11(1), 217-230.

Suwimon Wongwanich. (2015). Needs Assessment. (3th ed) Bangkok: Chulalongkorn
University Press.

Teamjan Parnichparinchai. (2015). The Development of a Learning Process Management
Based on the Aplication of Contemplative Education Concept for Developing
Basic Education Teachers. Suktong(Thai). Journal of Humanities and Social
sciences. 21(1), 55-66.

vicharn panich. (2012). The way of learning for the disciples in the 21st century.
Bangkok

Woralak kumvang ,Nongluck Jaichalad. (2017). Guideline of 21st Century Skills for
Phitsanulok Secondary Educational Service Area Office. Journal of Lampang
Rajabhat University, 6(1), 129-138.

Yaovadee rangchaikul viboolsri. (2007).Project evaluation, concepts and practices.
(6thed). Bangkok: Chulalongkorn University Press.