นางตลาดในการแสดงละครนอก

Main Article Content

nantawan nantawan na kalasin

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความเป็นมาและความสำคัญของนางตลาดในละครนอก


เป็นการศึกษาจากเอกสารและภาคสนาม ข้อมูลการวิจัยรวบรวมมาจากการสังเกต สัมภาษณ์ผู้รู้จำนวน 4 คน    ผู้ปฏิบัติจำนวน 7 คน  บุคคลทั่วไปจำนวน 6 คน และนำเสนอผลการวิจัยด้วยวิธีการพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า นางตลาดในการแสดงละครนอก คือ นางที่มีกิริยาท่าทางไม่สำรวม ท่าทางว่องไว คล่องแคล่ว พูดจาเปิดเผย สามารถแสดงกิริยา ตามความรู้สึก เช่น หัวเราะเสียงดัง การแสดงความรักต่อต่อเพศตรงข้าม การแสดงกิริยาเมาสุรา ไม่มีคุณลักษณะของเบญจกัลยาณี แต่ยังคงรักษากระบวนการรำตามแบบแผนของจารีตของละครนอกตามบทละคร ดังนั้นนางตลาดในการแสดงละครนอก จึงเป็นตัวสำคัญที่จะทำให้การแสดงสนุกสนาน และเข้าถึงผู้ชมได้อย่างดี


 


คำสำคัญ  :  นางตลาด ละครนอก


 


 


 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

เกิดศิริ นกน้อย. (2559). บทบาทสตรีในราชสำนักที่มีคุณูปการต่อศิลปะการแสดง.วิทยานิพนธ์ปรัชญา
ดุษฎีบัณฑิต, คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

จินตนา สายทองคำ. (2555). การศึกษากระบวนท่ารำนางแปลงในการแสดงเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ฉุยฉาย
ศูรปนักขา. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์.

ธีรเดช กลิ่นจันทร์. (2559). หลักการตีบท. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต คณะศิลปกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

นพรัตน์ศุภการ หวังในธรรม. (2559, 22 มิถุนายน). ผู้เชี่ยวชาญนาฏศิลป์ไทย วิทยาลัยนาฏศิลป์
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ สัมภาษณ์.

ประเมษฐ์ บุญยะชัย. ผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
สัมภาษณ์เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2559.

พัชราวรรณ ทับเกตุ. (2544). หลักการแสดงของนางเกศสุริยงแปลง ในละครนอกเรื่อง
สุวรรณหงส์. วิทยานิพนธ์หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, คณะศิลปกรรมศาสตร์:จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.

พัชรินทร์ จันทรัดฑัต. (2552). นาฏยลักษณ์ของนางโขน. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตดุษฎีบัณฑิต,
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

รัจนา พวงประยงค์. (2559, 10 พฤษภาคม). ศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง ปี พ.ศ. 2554
สัมภาษณ์.


References

Kerdsiri Noknoi. (2016). The role of women in the royal court with contributions to the
performing arts. PhD Thesis Faculty of Fine and Applied Arts Mahasarakham
University.

Jintana Saithongkham. (2012). The study of Nang Plang dance posture in Ramayana
performance episode of Chui Chai Su Ra Pa Nakka. Bangkok: Bunditpatanasilpa
Institute.

Theeradej Klinchan. (2016). The principle of interpretation. PhD Thesis Faculty of Fine and
Applied Arts Mahasarakham University.

Noppharatsuphakarn Wangnaitham. Thai Dance Expert, College of Dramatic Arts,
Bunditpatanasilpa Institute. Interview was made in 22June 2016

Pramate Boonyachai. Expert in Teaching Dance Bunditpatanasilpa Institute.
Interview was made in 29 June 2016

PatcharawanTabket. (2001). Principle Performance of Nang KetSuriyongPlang in
LakornNok entitledSuwannahong. Dissertation Master of Fine Arts Program
Faculty of Fine and Applied Arts Chulkalongkorn University.

PatcharinChancharadthat. (2009). Dance Identity of Nang Khon. PhD Thesis Faculty of Fine
and Applied Arts Chulkalongkorn University.

Rajjana Phoungprayong. National Artist in Performing Arts 2011. Interview was made in 10
May 2016