บทบาทของการยางแห่งประเทศไทยในการพัฒนายางพาราทั้งระบบ

Main Article Content

รักพงษ์ รติคุณูปกร

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ(Abstract)


การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพยางพาราในประเทศไทย 2) ศึกษาการบริหารกิจการยางแห่งประเทศไทย 3) เสนอการพัฒนาของการยางแห่งประเทศไทยเป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพเพื่ออธิบายปรากฏการณ์ของการนำนโยบายไปปฏิบัติด้านการดูแลยางพาราทั้งระบบโดยใช้วิธีการหลากหลายเพื่อเก็บข้อมูลผลการวิจัยพบว่า


          การดำเนินนโยบายของภาครัฐตลอดจนความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นและแนวทางการพัฒนาของการยางแห่งประเทศไทยโดยพบว่ายางพารานับว่าเป็นพืชเศรษฐกิจสำคัญของประเทศปัจจุบันในปี 2560 มีพื้นที่กรีดได้เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว 1,081,595 ไร่รวมเนื้อที่กรีดได้ 20,538,550ไร่และมีผลผลิตรวมกันมากถึง4,641,076ตันส่วนการรวมกลุ่มของสมาชิกจนยกระดับสหกรณ์กองทุนสวนยางให้เข้มแข็งสามารถผลิตยางที่มีคุณภาพเป็นที่น่าเชื่อถือและสร้างความมั่นใจให้กับผู้ซื้อสามารถพัฒนาคุณภาพผลผลิตให้เป็นที่ยอมรับของตลาดและการเชื่อมโยงตลาดท้องถิ่นและตลาดกลางยางพาราซึ่งเป็นตลาดค้าขายระหว่างเกษตรกรสถาบันเกษตรกรและกลุ่มผู้ผลิตบริษัทผู้ส่งออกหรือแปรรูปเพื่อส่งออกสามารถทำการค้ากับบริษัทผู้ซื้อยางรายใหญ่ในต่างประเทศโดยตรงส่งเสริมผลิตภัณฑ์และใช้ผลิตภัณฑ์ยางที่ผลิตได้ในประเทศเช่นการใช้ยางธรรมชาติผสมยางมะตอยลาดถนนยางรองคอสะพานยางกันชนหรือยางกันกระแทกเขื่อน/ฝายยางฯลฯให้เห็นเป็นรูปธรรมการยางแห่งประเทศไทยมุ่งการเพิ่มประสิทธิภาพการเพิ่มผลผลผลิตต่อหน่วยพื้นที่และส่งเสริมให้เกษตรกรพัฒนาคุณภาพยางผลักดันให้เกษตรกรได้นำเทคโนโลยีในด้านการเพิ่มผลผลิตยางและปรับปรุงคุณภาพที่มีมาตรฐานทางวิชาการไปใช้อย่างจริงจังนโยบายภาครัฐแนะนำให้เกษตรกรชาวสวนยางจำเป็นต้องมีการประกอบอาชีพเสริมลดการพึ่งพารายได้จากการทำสวนยางแต่เพียงอย่างเดียวรวมทั้งต้องควบคุมและลดพื้นที่ปลูกยางพาราให้เหมาะสม


 


คำสำคัญ(Keywords): บทบาท การยางแห่งประเทศไทย, การดูแลยางพาราทั้งระบบ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.(2560). “รัฐเตรียมงบ1.69 หมื่นล้านเดินหน้าเพิ่มใช้ผลิตภัณฑ์ยางในประเทศ”.[ระบบออนไลน์].แหล่งที่มาhttps://www.thansettakij.com/content/185646 (26 กรกฎาคม 2560).
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์. (2555).วิกฤตราคายางพาราสหกรณ์ผู้ปลูกยางต้องปรับตัวอย่างไร.[ระบบออนไลน์].แหล่งที่มาhttps://www.cad.go.th/cadweb_org/ewt_news.php?nid=17194 (1รกฎาคม 2560).
ข่าวสด. (2560). “จัดใหญ่งานวันยางพารา-กาชาดบึงกาฬ 2560 โชว์นวัตกรรม-สร้างอาชีพ”.[ระบบออนไลน์].แหล่งที่มาสดhttps://www.khaosod.co.th (2 กุมภาพันธ์2560)
ปรีดิ์เปรมทัศนกุล. (2560). ยางแผ่นรมควันมาตรฐานGMP ยกระดับคุณภาพยางไทย.กรุงเทพฯ: ฝ่ายวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมยางการยางแห่งประเทศไทย.
ผู้จัดการออนไลน์. (2558). สนช.“3 ผ่าน”ร่างพ.ร.บ.ยางยุบ 3 หน่วยงานเหลือ“การยางแห่งประเทศไทย”.[ระบบออนไลน์].แหล่งที่มาhttps://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9580000055068(14กรกฎาคม 2558).
วุฒิศักดิ์ บุญแน่นและคณะ. (2553).ศักยภาพการทำเกษตรกรรมสร้างรายได้เสริมของเกษตรกรในแปลงปลูกยางพาราในเขตอำเภอสมเด็จจังหวัดกาฬสินธุ์.มหาสารคาม: โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สมพิศ สุขแสน. (2551). นโยบายสาธารณะและการวางแผน.เอกสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตภ์.
สำนักข่าวThai Quote. (2560). “นายกฯแจงเหตุ“ยางราคาตก” พร้อมแนวทางแก้ไข”.[ระบบออนไลน์].แหล่งที่มาhttps://www.thaiquote.org/content/23542 (17 พฤศจิกายน 2560).
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (2556). แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการ.ไทย(พ.ศ. 2556-2561).พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: บริษัทวิชั่นพริ้นท์แอนด์มีเดีย.
สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดบึงกาฬ. (2560). ทูตจีนเยือนบึงกาฬสนใจลงทุนอุตสาหกรรมยางพาราอนาคตสดใส.[ระบบออนไลน์].แหล่งที่มาhttps://www.facebook.com/100009282126488/videos/1624855761167146 (10 พฤษภาคม 2560).
สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. (2558). พระราชบัญญัติการยางแห่งประเทศไทยพ.ศ. 2558ตามราชกิจจานุเบกษา (18 กรกฎาคม 2558) เล่ม132ตอนที่63ก. [ระบบออนไลน์].แหล่งที่มาlibrary2.parliament.go.th/giventake/content_nla2557/law63-140758-1.pdf (10 พฤษภาคม 2560).
สุภางค์ จันทวานิช. (2553). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อำนวย ปะติเส. (2560). เตรียมพร้อมสู่การยางแห่งประเทศไทย.[ระบบออนไลน์].แหล่งที่มาhttps://www.facebook.com/FarmChannel/posts/1006948276006580 (10 พฤษภาคม 2560).
Advanced Business Magazine.(2560).“วิสัยทัศน์การบริหารและวิธีแก้ปัญหาเรื่องยางของดร.ธีธัชสุขสะอาดผู้ว่าการการยางแห่งประเทศไทย”.[ระบบออนไลน์].แหล่งที่มาhttps://www.advancedbizmagazine.com/ (10 มีนาคม 2560).
Golafshan, N. (2003). “Understanding Reliability and Validity in Qualitative Research.”The Quality Report, 8(4): 597-606.
NederveenPieterse, Jan. (1995).“Globalization as Hybridization,” in Global Maternities.Edited by Mike Featherstone et.al. (eds). London ; SAGE Publication.
Translated Thai References
Advanced Business Magazine.(2017). Vision of management and resolution of rubber problem, by Dr. TheetatSuksa-ard, Gonernor of Rubber Authority of Thailand.[Online]. Source: https://www.advancedbizmagazine.com (Retrieved 10 March, 2017). (In Thai)
Boonnaen, W. (2010).Capacity of creating income of rubber planting in Somdet district, Kalasin Province.Mahasarakham: Demonstration School of mahasarakham University. (In Thai)
Buengkan Provincial Office of Public Relation. (2017). Chinese ambassador visited BuengKan, interested in rubber industry, brought good future. [Online].Source :https://www.facebook.com
/100009282126488/videos/1624855761167146 (Retrieved 10 May, 2017). (In Thai)
Chantavanich, S. (2010).Qualitative Research Methodology. Bangkok: Chulalongkorn University Press. (In Thai)
Cooperative Auditing Department (2012). Crisis of rubber price; rubber cooperatives must adjust. [Online].
Source :https://www.cad.go.th/cadweb_org/ewt_news.php?nid=17194 (Retrieved 1 July, 2017).(In
Thai)
Golafshan, N. (2003). “Understanding Reliability and Validity in Qualitative Research.” The Quality Report, 8(4): 597-606.
Khaosod (2017). Grand rubber and red-cross festival held in BuengKan to show innovation and career
creation. [Online].Source :https://www.khaosod.co.th(Retrieved 2 February, 2017).(In Thai)
Manager Online (2015). National Legislative Assembly passed the Rubber bill, dissolving 3 internal offices. [Online].Source :https://www.khaosod.co.th(Retrieved 14 July, 2017). (In Thai)
Ministry of Agriculture and Cooperatives (2017a). Government prepared 1.69ten billion baht for domestic
rubber production consumption. [Online].Source :https://www.thansettakij.com/content/185646
(Retrieved : 26 July, 2017). (In Thai)
NederveenPieterse, Jan. (1995).“Globalization as Hybridization,” in Global Maternities.Edited by Mike Featherstone et.al. (eds). London ; SAGE Publication.
Office of The Public Sector Development Commission. (2016). Strategic plan for bureaucratic development (2016-2018). 1st Eds. Bangkok: Vision Printing & Media Company.
Patise, A. (2017). Preparing for Rubber Authority of Thailand.[Online].Source :
https://www.facebook.com/100009282126488/videos/1624855761167146 (Retrieved 10 May, 2017). (In Thai)
Secretariat of the Prime Minister. (2017). The Rubber Authority of Thailand Bill 2017, Government Gazette (18 July, 2017) Vol.132 Sec.63. [Online].Source :https://www.facebook.com/100009282126488/
videos/1624855761167146(Retrieved 10 May, 2017). (In Thai)
Suksaen, S. (2008).Public Policy and Planning.Academic document.Uttaradit Rajabhat University.
Tassanakul, P. (2017). Enhancement of Standard Bale Rubber Production with Standard GMP System. Bangkok: Department of Rubber Industry Research and Development, Rubber Authority of Thailand. (In Thai)
Thai News Agency : Thai Quote (2017). PM explained reason of rubber price induction as well as guidelines for solution. [Online].Source : https://www.thaiquote.org/content/23542 (Retrieved 17 November, 2017). (In Thai)