การศึกษาของคณะสงฆ์ศรีลังกาสมัยอาณาจักรอนุราธปุระ

Main Article Content

พระมหาพจน์ สุวโจ

บทคัดย่อ

การศึกษาของคณะสงฆ์ศรีลังกาสมัยอาณาจักรอนุราธปุระนั้นเป็นจุดเริ่มต้นแห่งความมั่นคงทางวัฒนธรรมและพัฒนาเป็นอารยธรรมสิงหลในเวลาต่อมา การศึกษาสมัยนี้มีปัจจัยหลายอย่างหนุนเสริมให้ประสบความสำเร็จ นอกจากคณะสงฆ์จะร่วมแรงร่วมใจกันเป็นหนึ่งเดียวแล้ว สถาบันกษัตริย์ยังให้การสนับสนุนเป็นอย่างดี บทความนี้เน้นวิเคราะห์คัมภีร์สมันตปาสาทิกาเป็นหลัก เพราะมีหลักฐานเกี่ยวกับการศึกษาคณะสงฆ์สมัยอาณาจักรอนุราธปุระมากกว่าเล่มอื่น นอกจากนั้นนักวิชาการต่างให้ความเชื่อถือ ในฐานะเป็นแหล่งรวมความรู้ครบทุกด้าน แต่หลักฐานแวดล้อมอื่น ๆ ก็มิได้ทอดทิ้ง ได้นำมาวิเคราะห์เปรียบเทียบเพื่อความสมบูรณ์ถูกต้อง และสามารถตอบคำถามเรื่องการศึกษาคณะสงฆ์ศรีลังกาได้อย่างชัดเจน

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

จดหมายเหตุแห่งพุทธอาณาจักรของพระภิกษุฟาเหียน. (2522). ต้นฉบับของศาสตราจารย์ เจมส์ เล็กจ์ เอ็ม เอ แอลแอล ดี แปลและเรียบเรียงโดย พระยาสุรินทรฤาชัย (จันทร์ ตุงคสวัสดิ). กรุงเทพฯ: มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย.

จี พี มาลาลาเสเกรา. (2554). ศรีลังกา: ว่าด้วยประวัติศาสตร์ การณ์พระศาสนา และวรรณคดี แปลโดยลังกากุมาร. นครปฐม: สาละ.

ถังซำจั๋ง. (2547). จดหมายเหตุการเดินทางสู่ดินแดนตะวันตกของราชวงศ์ถัง แปลโดยชิว ชูหลุน. กรุงเทพฯ: มติชน.

ธัช มั่นต่อการ. (2547). การศึกษาวิเคราะห์คัมภีร์สมันตปาสาทิกาปฐมภาค. ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยศิลปากร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

พระมหานามเถระและคณะบัณฑิต. (2553). คัมภีร์มหาวงศ์ ภาค 1. แปลโดย ผศ.สุเทพ พรมเลิศ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระมหาพจน์ สุวโจ. (2560). เล่าเรื่องเมือง(ศรี)ลังกา: รวมบทความวิชาการในวาระครอบรอบหนึ่งทศวรรษ. นครปฐม: สาละพิมพการ

พระพุทธโฆสเถระ. (2548). คัมภีร์วิสุทธิมรรค. สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร) แปลและเรียบเรียง. Taipei: The Corporate Body of the Buddha Educational Foundation.

พระคัมภีร์ทีปวงศ์. (2526). พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ พระครูธรรโมภาษผดุงกิจ ณ เมรุวัดซำแฮด ตำบลบรบือ อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม วันที่ 9 เมษายาน พุทธศักราช 2526.

พระสังฆราชเทวรักษิตะชัยพาหุเถระ. (2559). นิกายสังครหยะ: บันทึกการพระศาสนาของชมพูทวีปและลังกา. แปลและเรียบเรียงโดยพระมหาพจน์ สุวโจ. นครปฐม: สาละพิมพการ.

พระอุปติสสเถระ. (2548). วิมุตติมรรค. พระเทพโสภณ (ประยูร ธมฺมจิตโต) และคณะ แปลจากฉบับภาษาอังกฤษของพระเอฮารา พระโสมเถระและพระเขมินทเถระ. อนุสรณ์งานบำเพ็ญกุศลออกเมรุ
พระราชทานเพลิงศพ พระพุทธวรญาณ (มงคล วิโรจนมหาเถร ป.ธ.5) อดีตเจ้าอาวาสวัดประยุรวงศาวารวรวิหาร และอดีตเจ้าคณะภาค 15 ณ เมรุวัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร วันที่ 5-6-7-8 มิถุนายน พ.ศ.2548

สุภาพรรณ ณ บางช้าง. (2526). ประวัติวรรณคดีบาลีในอินเดียและลังกา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อรรถกถาภาษาไทย พระวินัยปิฎก สมันตปาสาทิกา ภาค 1-3 ฉบับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2550). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ ปปัญจสูทนี ฉบับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2550). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

Reference

Bhikkhu Nyanamoli. (1991). The Path of Purification. Kandy: Buddhist Publication Society.

Bimala Churn Law. (2000). A History of Pali Literature Vol.I-II. New Delhi: Rekha Printers.

----------------------. (1923). The Life and Work of Buddhaghosa. Delhi: Asian Educational Services.

De. Silva, C.R., and De. Silva, Daya. (1990). Education in Sri Lanka. New Delhi: Navrang.

Education in Ceylon: A Centenary Volume. (1969). Colombo: the Government Press.

Epigraphia Zeylanica Vol.III. (1994). Edited and Translated by Don Martino De Zilva Wickraemasinghe and H.W. Codrington. (New Delhi: Asian Educational Service.

E.W, Adikaram. (2009) Early History of Buddhism in Ceylon. Colombo: Buddhist Cultural Centre.

G.P. Malalasekera. (2002). Dictionary of Pali Proper Names Vol.II. New Delhi: Munshiram Manohalal Publisher.

Godakumbura. (1955). Sinhalese Literature. Colombo: Government Publication.

Gunaratne Panabokke. (1993). History of the Buddhist Sangha in India and Sri Lanka. Colombo: Karunatne & Sons Ltd.

History of Ceylon. (1959). University of Ceylon. Colombo: Ceylon University Press.

James Gray. (1998). Buddhaghosuppatti. Delhi: Asian Educational Services.

M. Nagai. (1919). Journal of the Pali Text Society 1917-1919. London: The Oxford University Press.

N.A. Jayawickrama. (1962). The Inception of Discipline and the Vinaya Nidana. London: Luzac & Company Ltd.

Naimbala Dhammadassi. (1996). The Development of Buddhist Monastic Education in Sri Lanka with Special Reference to the Modern Period. Unpublished thesis of Lancaster University.

P.V. Bapat. (2009). Vimuttimagga and Visuddhimagga: A Comparative Study. Kandy: Creative Printers & Designers.

R.A.L.H. Gunawardana. (1979). Robe and Plough. Arizona: the University of Arizona Press.

Rajaratnakaraya (A Historical Narrative of Sinhalese Kings from Vijaya to Wirawikkrama. (1907). Edited by De Silva Simon. Colombo: H.C. Cotthe, Government Printer.

Rangama Chandawimala. (2016). Heterodox Buddhism: the School of Abhayagiri. Colombo: The Quality Printers.

Senake Bandaranayake. (2009). Sinhalese Monastic Architecture. Hyderabad: Graphica Printers.

Somapala Jayawardhana. (1994). Handbook of Pali Literature. Colombo: Karunaratne and Sons.

The Dipavamsa. Trans. (2001). Hermann Oldenberg. New Delhi: Asian Educational Services.

The Mahavamsa. Trans. (2000). Wilhelm Geiger. New Delhi: Asian Educational Services.

U.D. Jakasekera. (1969). Early History of Education in Ceylon. Colombo: Department of Culteral Affairs.

Upatissa Thera. (1961). The Path of Freedom: Vimuttimagga. Kandy: Buddhist Publication Society.

Walpola Rahula. (1993). History of Buddhism in Ceylon: The Anuradhapura Period 3rd Century BC 3 10th Century AC. Colombo: Buddhist Cultural Centre.