พฤติกรรมการบริโภคที่ส่งผลต่อสุขภาพในช่องปากของเด็กก่อนวัยเรียน ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตานบ ตำบลทุ่งกุลา อำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์

ผู้แต่ง

  • สุจิตรา ผิวสว่าง
  • ไพลิน อำไพ
  • จุฑามาส ขุมทอง
  • วิจิตร ประดิษฐ์ศิลปโชติ
  • ณัฐธิกา ศรีมกุฎพันธุ์

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i3%20SUP.214265

คำสำคัญ:

พฤติกรรมการบริโภคอาหาร, สุขภาพในช่องปาก, เด็กก่อนวัยเรียน, ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการบริโภค
อาหารที่ส่งผลต่อสุขภาพในช่องปากของเด็กก่อนวัยเรียน ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตานบ ตาบลทุ่งกุลา
อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ กลุ่มตัวอย่าง คือ เด็กก่อนวัยเรียน ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตานบ ตาบล
ทุ่งกุลา อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์โดยใช้สูตรความคลาดเคลื่อนของ ทาโร ยามาเน่ ซึ่งคานวณหา
ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง ได้จานวน 44 คน โดยเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบบสอบถาม
พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ส่งผลต่อสุขภาพในช่องปากของเด็กก่อนวัยเรียน และวิเคราะห์ข้อมูล
ด้วยการกระจายความถี่แบบร้อยละ ผลการศึกษาพบว่า พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีผลต่อการเกิด
โรคฟันผุที่ปฏิบัติเป็นประจา ได้แก่ รับประทานขนมที่มีส่วนผสมของช็อคโกแลต รองลงมา คือ
รับประทานขนมปังกับโอวัลตินทุกวัน พฤติกรรมการบริโภคที่ปฏิบัติเป็นบางครั้ง ได้แก่ รับประทาน
ขนมกรุบกรอบ รับประทานขนมไทย เช่น ทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง ทั้งนี้ จากการศึกษาพบว่า
การปฏิบัติตนในเรื่องการบริโภคอาหารที่มีผลต่อการเกิดโรคฟันผุของเด็กก่อนวัยเรียน อายุ 3-5 ปี ณ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตานบ ตาบลทุ่งกุลา อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ เด็กก่อนวัยเรียนส่วนใหญ่มี
พฤติกรรมรับประทานอาหารที่มีรสหวานและมีส่วนผสมของน้าตาลเป็นจานวนมาก และส่วนใหญ่มี
ฟันน้านมผุ ดังนั้น หน่วยงานสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องควรเข้าไปตรวจสุขภาพในช่องปากให้เด็กก่อน
วัยเรียน อายุ 3-5 ปีเป็นประจา และให้ความรู้กับครู ผู้ปกครองและเด็ก เรื่องอาหารรสหวานที่มีน้าตาล
ซูโครสเป็นส่วนผสมซึ่งเป็นสาเหตุในการสร้างกรดและทาให้เกิดฟันผุ เพื่อลดอัตราการเกิดโรคฟันผุ

References

Boonsumree, N. (2009). Factor related to
parents behaviors and oral
health among children aged 0-5
years at wang namyen health
promotion hospital, sawaengha
district, Angthong province.
Independent Studies (B.P.H.
Bachelor of Public Health).
Mahasarakham University.
Bureau of Dental Health, Department of
Health, Ministry of Public Health.
(2004) . Dental Health Service in
Thailand. Bangkok: On Print Shop.
Bureau of Dental Health, Department of
Health, Ministry of Public Health.
(2008). Dental Health Survey
Report National 6th (2006-2007).
Bangkok: Samcharoen Panich
(Bangkok) Co., Ltd.
Bureau of Dental Health, Department of
Health, Ministry of Public Health.
Dental Health Project Details
According to the 4th National
Economic and Social Development
Plan (1976-1981). Bangkok: The
Agricultural Cooperative Federation
of Thailand.
Chanduaykit, S. Influence of dietary
habits of Thai children aged 6 to
30 months on dental caries.
Nonthaburi : Bureau of Dental
Health, Department of Health,
Ministry of Public Health.
Chungsiriponpakorn, A. Type of research.
Search on 8 March 2017 From
http://pioneer.netserv.chula.ac.th/~
jaimorn/re2.htm.
Department of Health, Ministry of Public
Health. (2000). The 5th Dental
Health Survey. Bangkok: The
Printing Office of The War Veterans
Organization of Thailand.
Department of Health, Ministry of Public
Health. (2002).Youth Health
Promotion Handbook. Bangkok:
Printing House Agricultural Cooperative Federation of Thailand.
Faculty of Dentistry, Chulalongkorn
University. (2002). Talk to the doctor.
(1
st ed.). Bangkok: Chulalongkorn
University Printing House.
Kriphiboon, P. (2013). Dental Health. (1
st
ed.). Bangkok : Amarin Printing &
Publishing Public Company
Limited.
Kriphiboon, P. (2013). Tooth disease. (1
st
ed.). Bangkok: Amarin Printing &
Publishing Public Company Limited.
Nichalanon, S. (1992). Preventive
dentistry. (1
st ed.). The Office of the
University Press, Sukhothaithammathirat Open University.
Phuwaphanit, W. (1996). Preventive
dentistry (2
nded). The Office of the
University Press, Sukhothaithammathi-rat
Open University.
Rattanapongpaisarn, C. (2015) Comparison
of Surface Microhardness of
Enamel after Fluoride Varnish
Application on Primary Teeth. RSU
National Research Conference
2015. (150-158). Rangsit University.
Samuing, N. Tooth decay is?. Search on
14 September 2016 From
http://www.colgate.co.th/th/th/oc/
oral-ealth/ conditions/ cavities/
article/what-are-cavities.
Srisaard, B. (2002). Preliminary research.
(7
th ed.). Bangkok: Suweeriyasan Co.,
Ltd.
Wongkongkathep, S and Others. Study of
Pattern Behavior of sweet
Consumption related to Dental
Caries and Obesity in Thai
children under 5 aged.
Nonthaburi: Bureau of Dental
Health, Department of Health,
Ministry of Public Health.
Yimsuay, M. Search on 20 September
2016 From http://www.maesaiyimsuay.com/tag/.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

03-09-2019

How to Cite

ผิวสว่าง ส., อำไพ ไ., ขุมทอง จ., ประดิษฐ์ศิลปโชติ ว., & ศรีมกุฎพันธุ์ ณ. (2019). พฤติกรรมการบริโภคที่ส่งผลต่อสุขภาพในช่องปากของเด็กก่อนวัยเรียน ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตานบ ตำบลทุ่งกุลา อำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 9(3 SUP), 20. https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i3 SUP.214265