หอศิลป์เอกชนในกรุงเทพมหานคร: การจัดการและการดำรงอยู่ ในบริบทของศิลปวัฒนธรรมไทยร่วมสมัย

ผู้แต่ง

  • วิภูษณะ ศุภนคร
  • สาธิต ทิมวัฒนบรรเทิง
  • วิรุณ ตั้งเจริญ

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i3%20SUP.214300

คำสำคัญ:

หอศิลป์เอกชน, การจัดการ, การดารงอยู่, ศิลปวัฒนธรรมไทยร่วมสมัย

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการและการดารงอยู่ของหอศิลป์เอกชนใน
กรุงเทพมหานคร และเพื่อศึกษารูปแบบ ลักษณะ ระบบ กลไก การจัดการ ปัญหาและอุปสรรค ของ
หอศิลป์เอกชนในกรุงเทพมหานคร ในบริบทของศิลปวัฒนธรรมไทยร่วมสมัย ดาเนินงานวิจัยด้วยวิธีวิจัย
เชิงคุณภาพ เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสัมภาษณ์ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการดาเนิน
กิจการหอศิลป์เอกชนที่ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร ผู้วิจัยได้ใช้เกณฑ์ในการคัดเลือกโดยเลือกจากอายุ
ของการดาเนินกิจการ ขนาดพื้นที่ของกิจการ การจัดแสดงและลักษณะสไตล์ของผลงาน รวมทั้งราคา
และผู้เข้าชม ตลอดจน การสนับสนุนศิลปินในกลุ่มต่างๆ ทั้งนี้ผู้วิจัยได้ใช้ทฤษฎีการจัดการองค์กรเป็น
หลักในการตั้งเกณฑ์ และนาเสนอผลการวิจัยโดยการพรรณนาวิเคราะห์
ผลการวิจัยพบว่าเรื่องพัฒนาการหอศิลป์เอกชนในกรุงเทพมหานคร มีพัฒนาการแบ่งออกได้
เป็น 6 ทศวรรษดังนี้ ทศวรรษที่ 1 ตั้งแต่ พ.ศ. 2500 – 2510 ทศวรรษที่ 2 ตั้งแต่ พ.ศ. 2511 – 2520
ทศวรรษที่ 3 ตั้งแต่ พ.ศ. 2521 – 2530 ทศวรรษที่ 4 ตั้งแต่ พ.ศ. 2531 – 2540 ทศวรรษที่ 5 ตั้งแต่
พ.ศ. 2541 – 2550 ทศวรรษที่ 6 ตั้งแต่ พ.ศ. 2551 – ปัจจุบัน ส่วนในเรื่อง รูปแบบ ลักษณะ ระบบกลไก
การจัดการ ปัญหาและอุปสรรค ของหอศิลป์เอกชนในกรุงเทพมหานคร ในบริบทของศิลปวัฒนธรรม
ไทยร่วมสมัยนั้น มีรูปแบบการจัดการอยู่สองลักษณะคือ การจัดการองค์กรศิลปะสมัยใหม่ และ
การจัดการองค์กรแบบผสมผสานแบบหลังสมัยใหม่ที่มีการควบรวมกับธุรกิจและศิลปะแขนงอื่น
เข้าด้วยกัน

References

Chaiyaporn, C. (2009). Postmodernman.
(1). Bangklok: openbook.
Charoensri, C. (2001). Postmodern
&Sociology. (1). Vipasa.
Gallet, F. (2560). Interview with
Wipoosana Supanakorn 27 March
2016.
Heng, P. (2006). Art Gallery Center
Together we live, Split among us
dead. Search on 17 April 2014.
Hongthong, T. (2014). Dream Big.
Wallpaper, 124.
Lerthattasil, P. (2014). interview with Mr.
Wipoosana Supanankorn on 15
July 2014.
Nor Na Paknam. (2007). Beauty in Thai
art.(1). Bangkok: MuengBoran
Press.
Saensa-Neh, N. (2013). Artist representation
in a Commercial artgallery
college of innovation. Thammasat
University.
Sakulsri, N. (2017). interview with Mr,
Wipoosana Supanakorn on 24
June 2017.
Sathavong, S. (2017). interview with Mr,
Wipoosana Supanakorn on 26
March 2017.
Tangcharoen, W. (2009). Vision in Arts.
(1).Bangkok: Srinakharinwirot Press.
Teece, D. (2010). Business Models
Business Strategy and Innovation.
Longrange Planning. April –June
2010, 43(2). 172-194. UK: Elsevier
Ltd.
Thichinbannakorn, R. (2017). interview
with Mr, Wipoosana Supanakorn
on 13 March 2017.
Thompson, D. (2008). the Curious
Economics of Contemporary Art
and Auction House. (1) London:
Aurum Press.
Wagner, E. & Thea westreich wagner .
(2013). Collecting Art for
love,Money and More China:
PhaidonPress limited.
Wattana, C. (2016). interview with
Mr. Wipoosana Supanankorn on23
March 2017.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

03-09-2019

How to Cite

ศุภนคร ว., ทิมวัฒนบรรเทิง ส., & ตั้งเจริญ ว. (2019). หอศิลป์เอกชนในกรุงเทพมหานคร: การจัดการและการดำรงอยู่ ในบริบทของศิลปวัฒนธรรมไทยร่วมสมัย. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 9(3 SUP), 105. https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i3 SUP.214300