ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลการปฏิบัติงานของทรัพยากรมนุษย์สายวิชาการ ในมหาวิทยาลัยราชภัฏ

ผู้แต่ง

  • ชฎาพร โพคัยสวรรค์
  • พรนภา เตียสุธิกุล
  • บุญเลิศ ไพรินทร์

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v7i2.214363

คำสำคัญ:

ปัจจัย อิทธิพล พฤติกรรมผู้นา วัฒนธรรม การทางานในองค์การ กิจกรรมการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์; ผลการปฏิบัติงาน; มหาวิทยาลัยราชภัฏ

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาผลการ
ปฏิบัติงานของทรัพยากรมนุษย์สายวิชาการในมหาวิทยาลัย
ราชภัฏ 2) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลการปฏิบัติงานของ
ทรัพยากรมนุษย์สายวิชาการในมหาวิทยาลัยราชภัฏ และ3)
สร้างสมการพยากรณ์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลการปฏิบัติงาน
ของทรัพยากรมนุษย์สายวิชาการในมหาวิทยาลัยราชภัฏ โดย
ใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ทรัพยากร
มนุษย์สายวิชาการของมหาวิทยาลัยราชภัฏ จานวน 390 คน
ซึ่งได้จากการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบสองขั้นตอน คือ สุ่ม
ตัวอย่างแบบง่าย และสุ่มตัวอย่างแบบจัดสรรแบบสัดส่วน
วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเบี่ยงเบน
มาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ
ผลการศึกษาพบว่า
1. ผลการปฏิบัติงานของทรัพยากรมนุษย์สาย
วิชาการในมหาวิทยาลัยราชภัฏภาพรวมอยู่ในระดับดี
และเมื่อพิจารณารายองค์ประกอบ พบว่า ภาพรวมอยู่
ในระดับดี เรียงตามลาดับดังนี้ 1) พฤติกรรมการ
ปฏิบัติงาน 2) ผลลัพธ์ของงาน
2. ปัจจัยพฤติกรรมผู้นา วัฒนธรรมการทางานใน
องค์การ และกิจกรรมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์มี
อิทธิพลต่อผลการปฏิบัติงานของทรัพยากรมนุษย์สาย
วิชาการในมหาวิทยาลัยราชภัฏ อย่างมีนัยสาคัญทาง
สถิติที่ระดับ.05 และมีอิทธิพลในทิศทางบวก มีค่า
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ .743 และค่ากาลัง
สองของค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณ มีค่า .552
แปลความได้ว่า ตัวแปรพยากรณ์ทั้ง 3 ตัวร่วมกัน
พยากรณ์ผลการปฏิบัติงานของทรัพยากรมนุษย์สาย
วิชาการในมหาวิทยาลัยราชภัฏได้ร้อยละ 55.20 โดยมี
ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการพยากรณ์ร้อยละ
41.80
3. สร้างเป็นสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบและ
คะแนนมาตรฐานตามลาดับ ดังนี้

Y = .622 + .382 (พฤติกรรมผู้นา) + .415
(วัฒนธรรมการทางานในองค์การ) +
.171 (กิจกรรมการพัฒนาทรัพยากร
มนุษย์)
X = .212 (พฤติกรรมผู้นา) + .522
(วัฒนธรรมการทางานในองค์การ) +
.150 (กิจกรรมการพัฒนาทรัพยากร
มนุษย์)

References

กันยา ศรีสามารถ. (2550). ความพึงพอใจในการ
ปฏิบัติงานของอาจารย์ในมหาวิทยาลัยราชภัฏ
วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัด
ปทุมธานี. ครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏ
วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.
เกรียงไกรยศ พันธุ์ไทย. (2552). อิทธิพลของพฤติกรรม
ผู้นา วัฒนธรรมการทางานในองค์การและ
กิจกรรมการพัฒนาทรัยพากรมนุษย์ที่มีผลต่อ
การปฏิบัติงานของพนักงานรัฐวิสาหกิจ.
รัฐประศาสนศาสตรดุษฎี สถาบันบัณฑิตพัฒน
บริหารศาสตร์.
ถนอม อินทรกาเนิด และคณะ. (2553). รายงาน
การวิจัยแนวทางการพัฒนา และแก้ไขปัญหา
สถาบันอุดมศึกษากลุ่มใหม่. กรุงเทพฯ :
สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.
Arthur, W. , Bennet , W. , Edens, P.S. and , S.T.
(2013). Effectiveness of Training in
Organizations: A Meta-Analysis of Design and
Evaluation Features. Journal of Applied
Psychology. 88 : 234-245.
Brooks, M. and Nafukho, F.M. (2006). Human
Resource Development, Social Capital,
Emotional Intelligence any Link to
Productivity?. Journal of European
Industrial Training. 3 (2) : 117 – 128.
Hellriegel, D, Slocum, J.W. and Woodman, R.W.
(2001). Organizational Behavior. Australia:
Thomson /South – Western.
Lussier, R.N. and Achna, C.F. (2004). Leadership:
Theory, Application, Skill Building.
Cincinnati, Ohio : South – Western College.
Mohrman, A.M., Resnick – West, S.M., & Lawler
lll, E.E. (1989). Designing Performance
Appraisal Systems: Aligning Appraisals
and Organizational Realities. San
Francisco: Josey – Bass.
Nadler, L. and Nadler, Z. (1980). Corporate
Human Resource Development. New York:
Van Nostrand Reinhold.
Peters, T. and Waterman, R. (1982). In Search
of Excellence. London : Harper and Row.
Robbins, S.P. (2005). Organizational Behavior.
Upper Saddle River, N.J. : Prentice – hall.
Schuler, R.S. and MacMillan, l. (1984). Gaining
Competitive Advantage through Human
Resource Practices. Human Resource
Management. 23 , 241-256.
Wallach, E. (1983). Individual and Organization:
the Culture Match. Training and
Development. Journal. 12, 28-36.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

03-09-2019

How to Cite

โพคัยสวรรค์ ช., เตียสุธิกุล พ., & ไพรินทร์ บ. (2019). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลการปฏิบัติงานของทรัพยากรมนุษย์สายวิชาการ ในมหาวิทยาลัยราชภัฏ. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 7(2), 11. https://doi.org/10.53848/irdssru.v7i2.214363