การจัดการความรู้เพื่อการท่องเที่ยวผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ของ แหล่งท่องเที่ยวในย่านเยาวราช

ผู้แต่ง

  • วนิดา สุวรรณนิพนธ์

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v7i2.214373

คำสำคัญ:

การจัดการความรู้, เครือข่ายสังคมออนไลน์; การยอมรับการใช้งานเทคโนโลยี; การท่องเที่ยว

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพ
ของปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีต่อการจัดการความรู้เพื่อการ
ท่องเที่ยวผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ กรณีเฟซบุ๊ค
และความสัมพันธ์ของปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีต่อการ
จัดการความรู้เพื่อการท่องเที่ยวผ่านเครือข่ายสังคม
ออนไลน์ กรณีเฟซบุ๊ค ของแหล่งท่องเที่ยวในย่าน
เยาวราช การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสารวจ ประชากร
เป้าหมายคือ ประชาชนและผู้ประกอบการในชุมชน
ย่านเยาวราชที่เป็นเจ้าของเฟซบุ๊คที่เกี่ยวข้องกับแหล่ง
ท่องเที่ยวในย่านเยาวราช โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง
แบบเจาะจง และใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการ
เก็บรวบรวมข้อมูล ได้แบบสอบถามที่ตอบกลับ จานวน
280 คน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา และ
การวิเคราะห์อิทธิพลเชิงสาเหตุ (Path analysis) ด้วย
โปรแกรม LISREL 8.52 ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพได้
ดาเนินการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ประกอบการธุรกิจ
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการ
วิเคราะห์เนื้อหา (content analysis) ผลการวิจัย
พบว่าผู้ใช้งานเฟซบุ๊คเพื่อการท่องเที่ยวในย่าน
เยาวราชส่วนใหญ่ยอมรับการใช้งานเฟซบุ๊คว่าเป็น
เทคโนโลยีที่ใช้งานง่าย ได้รับประโยชน์จากการใช้งาน
การคล้อยตามอิทธิพลของกลุ่มสังคมและมีความ
ไว้วางใจในการใช้งานเฟซบุ๊ค จนเกิดทัศนคติที่ดีต่อ
การใช้งานเฟซบุ๊ค ส่วนการจัดการความรู้เพื่อการ
ท่องเที่ยวพบว่ามีกระบวนการจัดการความรู้ในด้านการ
แลกเปลี่ยนความรู้มากที่สุด รองลงมาเป็นการนา
ความรู้ไปใช้ การแสวงหาความรู้ การสร้างความรู้
การจัดเก็บความรู้ และการกาหนดความรู้ ตามลาดับ
ผลจากการทดสอบสมมติฐานพบว่าความตั้งใจในการ
ใช้งานเฟซบุ๊คเพื่อการท่องเที่ยวได้รับอิทธิพลทางตรง
จากการยอมรับการใช้งานเฟซบุ๊ค ทัศนคติที่มีต่อการ
ใช้งานเฟซบุ๊ค และการจัดการความรู้เพื่อการท่องเที่ยว
รวมทั้ง ความตั้งใจในการใช้งานเฟซบุ๊คเพื่อการ
ท่องเที่ยวได้รับอิทธิพลทางอ้อมจากการยอมรับการ
ใช้งานเฟซบุ๊คผ่านทัศนคติที่มีต่อการใช้งานเฟซบุ๊ค
และอิทธิพลทางอ้อมจากกระบวนการจัดการความรู้
ผ่านผลลัพธ์ของการจัดการความรู้ การวิจัยครั้งนี้
มีข้อเสนอแนะให้มีการให้ความรู้แก่คนในชุมชน
เกี่ยวกับการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ และการสร้าง
บรรยากาศและวัฒนธรรมชุมชนที่กระตุ้นให้คน
ในชุมชนเกิดการเรียนรู้ รวมทั้งแนวปฏิบัติที่ดีในการ
จัดการความรู้ เพื่อให้เกิดการพัฒนาและอนุรักษ์แหล่ง
ท่องเที่ยวของชุมชนอย่างยั่งยืน

References

กุมารี ลาภอาภรณ์. (2556). เยาวราช: คุณค่า
ท า ง ป ร ะ วัติศ า ส ต ร์ศิล ป วัฒ น ธ ร ร ม .
ศูนย์มานุษวิทยาสิรินธร. Retrieved from
http://www.sac.or.th/main/
content_detail.php?content_id=739.
ประเวช วะสี. (2548). การจัดการความรู้:
กระบวนการปลดปล่อยมนุษย์สู่ศักยภาพ
เสรีภาพ และความสุข. สถาบันส่งเสริมการ
จัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.).
วิจารณ์ พานิช. (2549). การจัดการความรู้. พิมพ์ครั้ง
ที่ 2 ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม สานักพิมพ์ดวงกมล.
Agarwal, R., & Prasad, J. (1999). Are Individual
Differences Germane to the Acceptance
of New Information Technologies.
Decision Sciences (30:2), pp. 361-391.
Ajjan, H., & Hartshorne, R. (2008). Investigating
faculty decisions to adopt Web 2.0
technologies: theory and empirical
tests. The Internet and Higher
Education, 11(2). pp.179-211.
Ajzen, I., & Fishbein, M, (1975). Belief,
Attitude, Intention, and Behavior: An
Introduction to Theory and Research.
Reading, MA: Addison-Wesley.
Ajzen, I., & Fishbein, M. (1980). Understanding
Attitudes and Predicting Social
Behavior. Prentice-Hall, Englewood
Cliff, NJ.
Davenport, T. H. & Prusak, L. (2000). Working
Knowledge: How Organizations
Manage What they Know. Harvard
Business School Press. p. 240.
Davis, F. D. (1989). Perceived usefulness,
perceived ease of use, and user
acceptance of information technology.
MIS Quarterly, 13(3). pp.319-339.
Fishbein, M. & Ajzen, I. (1975). Belief,
attitude, intention, and behavior: An
introduction to theory and research,
MA: Addison-Wesley.
Henrie, M., & Hedgepeth, O. (2003). Size is
important in knowledge management.
Journal of Knowledge Management
Practice. Retrieved from
http://www.tlainc.corn/artc l 53.htm.
Horwitch, M., & Armacost, R. (2002). Helping
Knowledge Management be All It Can
Be. Journal of Business Strategy,
Vol.23, No. 3, May/June, pp. 26-31.
Mason, R. (2006). Learning technologies for
adult continuing education. Studies in
Continuing Education, 28(2). pp.121-
133.
Nonaka, I. (1994). A Dynamic Theory of
Organization Knowledge Creation.
Organization Science, 5(1): 14-37.
Nonaka, I., & Takeuchi, H. (2004). Hitotsubashi
on Knowledge Management.
Singapore: John Wiley & Sons (Asia).
Probst, G. (2002). Managing Knowledge,
Building Blocks for Success. ISBN 0-
471-99768-4. Wiley. West Sussex,
England, 2002.
Turban, E., King, D., Lee, J., & Viehland, D.
(2004). Electronic Commerce: A
Managerial Perspective. Upper Saddle
River, NJ: Prentice-Hall.
Turner, G., & Minonne, C. (2010). Measuring
the Effects of Knowledge Management
Practices. ElectronicJournal of
Knowledge Management Volume 8
Issue 1, pp161 - 170.
Venkatesh, V. (1999). Creation of Favorable
User Perceptions: Exploring the Role of
Intrinsic Motivation. MIS Quarterly
(23:2), pp. 239-260.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

03-09-2019

How to Cite

สุวรรณนิพนธ์ ว. (2019). การจัดการความรู้เพื่อการท่องเที่ยวผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ของ แหล่งท่องเที่ยวในย่านเยาวราช. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 7(2), 101. https://doi.org/10.53848/irdssru.v7i2.214373