ความรับผิดชอบต่อสังคมของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

ผู้แต่ง

  • ธีระดา ภิญโญ
  • อดิศัย โทวิชา

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v8i1.214788

คำสำคัญ:

ความรับผิดชอบต่อสังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

บทคัดย่อ

           การวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรต่อความรับผิดชอบต่อสังคมของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ บุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏสวน
สุนันทาโดยใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลด้วยการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิอย่างเป็นสัดส่วนจำนวน 350ชุด วิเคราะห์ข้อมูลและประมวลผลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ได้แก่ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบทีการวิเคราะห์ความแปรปรวน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ โดยวิธีการสกัดองค์ประกอบหลัก “PCA”ผลการวิจัยพบว่า1)
บุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จบการศึกษาระดับปริญญาโท เป็นอาจารย์ และระยะเวลาในการปฏิบัติงานอยู่ในช่วง 1 – 5 ปี2)ความรับผิดชอบต่อสังคมของบุคลากร
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา โดยภาพรวมและรายด้านทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด ลำดับแรกด้านจิตสำนึกที่ดีต่อสังคม รองลงมา ด้านเครือข่ายอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม และด้านการบริหารจัดการเชิง
องค์รวม ตามลำดับ และ 3)บุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาที่มีระดับการศึกษา ตำแหน่งทางวิชาการ และ คณะ / วิทยาลัยต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคม ภาพรวมด้าน
การบริหารจัดการเชิงองค์รวม ด้านจิตสำนึกที่ดีต่อสังคม และด้านเครือข่ายอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

References

Chitanon, S. (2006) . Sustainable
Development.(Online).Search from
:https://www.gotoknow.
org/posts/244163
Injarurn, S. ( 20 0 5) .Factor
Analysis.Bangkok :Amarin Printing.
Jirawaswong, K. (2014).ISO 26000
standard for corporate social
responsibility (Part
2) . (Online) .Search from
:http://www.csrcom.com/
King Prajadhipok’s Institute. (2014). The
concepts of corporate social
responsibility (CSR) to create a
space for social and civic
consciousness.(Online) . Search
from
:http://www.kpi.ac.th/ppd/index
.php?name =content&main
_id=12&page_id=26
Kongsompong, K. (2009). Multicultural
Marketing Management.Bangkok
:Graduate Institute of Business
Administration.
National Science and Technology
Development Agency.(2014).
Science, Technology and
Innovation for Sustainable
Development.(Online) . Search
from :
http://www.nstda.or.th/pub/2014
/20140404-sustainabledevelopment.pdf
Office of the National Economic and
Social Development
Board.(2015). The Eleventh
National Economic and Social
Development Plan (2012-2016).
Bangkok :Prime Minister's Office.
SCRI. (2012). Compass Business
Social.The stock Exchange of
Thailand.Bangkok:Icon Printing.
Vachira Chantara Institute (2014).
Sustainable
Development. (Online) . Search
from
:http://www.surajet.com/catalog.
php?idp=17.
Walailuk University.(2013).Summary of
the Symposium on University
graduates on the path of
development ideals Thailand
with social responsibility
(University Social
Responsibility,
USR).(Online).Search from
:http://km.wu.ac.th/file/20130813
-DI7UB.docx
Yamane, Taro. (1970). Statistics: An
Introductory Analysis. (2d ed.).
ToKyo: John Weatherhill, Inc.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

28-12-2018

How to Cite

ภิญโญ ธ., & โทวิชา อ. (2018). ความรับผิดชอบต่อสังคมของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 8(1). https://doi.org/10.53848/irdssru.v8i1.214788