Participation of Private Dormitory in Drug Protection among Entrepreneur and Habitant Participation of Private Dormitory in Drug Protection among Entrepreneur and Habitant

Main Article Content

วสันต์พรรษ พรภัทรพงษ์

Abstract

The research on “Participation of Private Dormitory Operators and Dwellers in Drugs Prevention” aimed to 1) study the context of coordination on participation of people related to drug problem prevention and solution by emphasizing student dormitories  in Pho Rai Wan Sub-district, Phetchaburi Muang District, Phetchaburi Province, 2) propose participatory guidelines of private dormitory operators and dwellers in drugs prevention, and 3) encourage participation between state agencies, private agencies, and the Local Administrative Organization.  This research used qualitative method by studying the sample group of 13 people consisting of a chief of  Phetchaburi Provincial  Drugs Suppression Unit, an employee of Drugs Eliminating Center, Phetchaburi Province, a chief administrator of Pho Rai Wan Sub-district Administrative Organization, Muang District, Phetchaburi Province, an employee of Students Development Department, Phetchaburi Rajabhat University, private dormitory operators and dwellers, Pho Rai Wan Sub-district, Muang District, Phetchaburi Province.  As for data collection, guided questions were used for conducting the in-depth interview and focus group discussion.


According to the research results of the context of coordination for creating participation of people concerned in drugs prevention and suppression,  provincial state agencies, the Local Administrative Organization, and private dormitory operators jointly planned and asked cooperation from  local people.  As for the drugs problem spread among students, several sectors had to collaborate and allow people to participate in jointly finding causes of the problem,  planning activities and implementing, investing and working, following up and evaluating.  Implementation according to participatory guidelines enabled state agencies, private agencies, and people to efficiently and effectively gain benefits.

Article Details

How to Cite
พรภัทรพงษ์ ว. (2018). Participation of Private Dormitory in Drug Protection among Entrepreneur and Habitant: Participation of Private Dormitory in Drug Protection among Entrepreneur and Habitant. Integrated Social Science Journal, Mahidol University, 1(2), 15–38. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/isshmu/article/view/145951
Section
Research Article

References

กมลรัตน์ เหล้าสุวงษ์. (2548). บทบาทการจัดการศึกษาของเทศบาลที่ยกฐานะขึ้นใหม่ในปีพุทธศักราช 2542 : กรณีศึกษาจังหวัดอุตรดิตถ์. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.
กรรณิกา ชมดี. (2542). การมีส่วนร่วมของประชาชนที่มีต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ : การศึกษาเฉพาะกรณีโครงการสารภี ตำบลท่าช้าง อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
กุลภา วจนสาระ และกฤตยา อาชวนิจกุล.(2551). สถิติคดีอาญา 5 กลุ่มทั่วราชอาณาจักร. ศูนย์ข้อมูลสารสนเทศสำนักงานตำรวจแห่งชาติ. สืบค้นจาก : http://statistic.ftp.police.go.th [19 เมษายน 2557]
ไกรสุข สินศุข. (2545). กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันยาเสพติด : กรณีศึกษา ตำบลบางพรม อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม. วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล.
จักรกริช ใจดี. (2542). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรู้ความเข้าใจของบุคลากรเกี่ยวกับองค์การบริหารส่วนตำบล. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
คู่มือนักศึกษาระดับปริญญาตรี. (2555). มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
จิรวัฒน์ อารักษ์รัฐ. (2544). การมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชนแออัดต่อการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของสถานีตำรวจนครบาลโพงพาง. ภาคนิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
จำเนียร ช่วงโชติ. (2543). จิตวิทยาการรับรู้. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ฉัตรสุดา รอบคอบ.(2542). การศึกษาบทบาทและแนวทางการส่งเสริมภาคธุรกิจเพื่อสังคม. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ทัศนีย์ ลักขณาภิชนชัช. (2547). บทบาทขององค์การบริหารส่วนตำบลในการแก้ไขปัญหาความยากจนของประชาชน อ.เมือง จ.กาญจนบุรี. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี.
ธวัชชัย ล้อมวงษ์. (2545). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันยาบ้า : กรณีศึกษาชุมชนที่อยู่ในเขตควบคุมดูแลของสถานีตำรวจนครบาลสุทธิสาร. ภาคนิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม) คณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ณัฐวัส สอนบุญ. (2545). ความคาดหวังของประชาชนต่อบทบาทของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรสถานีตำรวจนครบาลบางมด. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ทวีวงศ์ ศรีบุรี. (2539). สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มานพ คณะโต และคณะ. (2545). ผลการดำเนินงานแก้ไขปัญหายาเสพติดระดับอำเภอ : กรณีศึกษา อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น. คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ยุวัฒน์ วุฒิเมธี. (2526). หลักการพัฒนาชุมชนและพัฒนาชนบท. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัดไทยอนุเคราะห์ไทย.
ยุทธ นุชสวัสดิ์. (2542). การดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาบ้าในโรงเรียนมัธยม สังกัด : กรมสามัญศึกษา จังหวัดเพชรบุรี. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
รังสรรค์ ทิมพันธ์พงศ์. (2543). การปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดอุตรดิตถ์. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.
ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2539). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์บำรุงสาสน์.
ภคพัส ส่งวัฒนายุทธ. (2553). การมีส่วนร่วมของประชาชนในโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด : ศึกษากรณี อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสตรมหาบัณฑิต การจัดการภาครัฐและภาคเอกชน มหาวิทยาลัยบูรพา.
นพพนิต ภาระกุล. (2549). ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการต่อการดำเนินงานของสถานธนานุบาลเทศบาลในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
นวลศรี เปาโรหิตย์. (2545). จิตวิทยาสังคมเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : บริษัทรุ่งศิลป์การพิมพ์.
นิรันดร์ จงวุฒิเวศย์. (2527). กลวิธีแนวทางวิธีการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์การศึกษานโยบายสาธารณสุข มหาวิทยาลัยมหิดล.
นอรอซี จันคุด. (2546). จิตวิทยาการเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ประกายพรึก.
บุษบง บุษปวณิช. (2550). ยูเอ็นระบุ โลกยังไม่ชนะสงครามยาเสพติด. ศูนย์ข่าว PACIFIC.
บำรุง ถุงน้อย. (2546). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่เขตำบลพลูตาหลวง จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (นโยบายสาธารณะและและการบริหารงานบุคคล) มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
ประพร วิบูลสุข. (2544). การมีส่วนร่วมของสมาชิกแจ้งข่าวอาชญากรรมในการป้องกันอาชญากรรมของสถานีตำรวจนครบาลวังทองหลาง. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ประภาศรี เพ็งเอม. (2546). ภาพลักษณ์ของนักการเมืองกับการยอมรับของประชาชน. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิชัย โปษยะจินดา และคณะ. (2544). รายงานประมาณการจำนวนผู้เกี่ยวข้องกับยาและสารเสพติด พ.ศ. 2544. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย”
วินิจ เกตุขำ และคมเพชร ฉัตรศุภกุล. (2544). บทบาทของผู้บริหารกับการนิเทศการศึกษา. กรุงเทพฯ : วิญญูชน.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2540). พฤติกรรมการสื่อสาร. มปพ.
ศูนย์วิชาการด้านยาเสพติด. สืบค้นจาก : http://nctc.oncb.go.th/ [4 ธันวาคม 2557]
สงวนศรี วิรัชชัย. (2546). การปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการศูนย์ปฏิบัติงานองค์กรชุมชนระดับตำบล จังหวัดอุตรดิตถ์. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.
สมศรี เฉลยมนต์. (2543). การดำเนินโครงการโรงเรียนสีขาวในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดอ่างทอง. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สุกิจ สุนทร. (2555). แนวทางการแก้ไขปัญหายาเสพติด สำหรับกลุ่มเยาวชน อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี. ภาคนิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาประชาคมเมืองและชนบท มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
สุชาติ สุขสะอาด. (2553). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของอำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. ภาคนิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาประชาคมเมือง มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.
สุพิณ เกชาคุปต์. (2536). พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด. (2519). พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามยาเสพติด. สืบค้นจาก : http://www1.oncb.go.th/raw/low4.html [28 พฤษภาคม 2557]
อนันต์ ทองไถ้ผา. (2548). ปัญหาการบริหารการพัสดุขององค์การบริหารส่วนตำบล ศึกษากรณีอำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.
อาณัติ ว่องอมรนิธิ. (2544). จิตวิทยาพัฒนาการ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
อับดุชชะกูร์ บินชาฟิอีย์. (2542). ความรู้ความเข้าใจและความตระหนักในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. ภาคนิพนธ์พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
Choen and Uphoff. (1979). ขั้นตอนการมีส่วนร่วม. สืบค้นจาก : http://archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2554/mph20954ni_ch2.pdf [19 เมษายน 2557]
Remmer, HH. (1954). Introduction to Opinion and Attitude. New York : Harper & Brothers Publisher measurement.