การพัฒนาหลักสูตรเด็กไทยหัวใจไม่โกง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดทองศาลางาม สำนักงานเขตภาษีเจริญ สังกัดกรุงเทพมหานคร

Main Article Content

ศิริรัตน์ นิลนาก

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาหลักสูตรเด็กไทยหัวใจไม่โกง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดทองศาลางาม สำนักงานเขตภาษีเจริญ สังกัดกรุงเทพมหานคร 2) เปรียบเทียบลักษณะนิสัยซื่อสัตย์ก่อนและหลังใช้หลักสูตรเด็กไทยหัวใจไม่โกง  และ 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ครูผู้สอนจัดขึ้น ตามหลักสูตรเด็กไทยหัวใจไม่โกง  กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดทองศาลางาม สำนักงานเขตภาษีเจริญ สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 30 คน   เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่  แผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน  แบบทดสอบวัดลักษณะนิสัยซื่อสัตย์และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียน   การสอนของครูผู้สอน  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่  ค่าเฉลี่ย  ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าที


ผลการวิจัยพบว่า


  1. หลักสูตรเด็กไทยหัวใจไม่โกง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดทองศาลางาม สำนักงานเขตภาษีเจริญ สังกัดกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยหลักการจุดมุ่งหมาย โครงสร้างหลักสูตร แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน สื่อและแหล่งเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผล

  2. ผลการเปรียบเทียบลักษณะนิสัยซื่อสัตย์ของนักเรียนที่เรียนด้วยหลักสูตรเด็กไทยหัวใจไม่โกง หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

  3. 3. ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูผู้สอนตามหลักสูตรเด็กไทยไม่โกงสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดทองศาลางาม สำนักงานเขตภาษีเจริญ สังกัดกรุงเทพมหานคร โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 38

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กนกพร ภู่เงิน. (2556 , มกราคม). บทความความซื่อสัตย์. ค้นเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2556. จาก http://21874-01.blogspot.com/2012/01/blog-post.html
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2548). สถิติสำหรับงานวิจัย . กรุงเทพฯ : ม.ป.พ.
กฤตรินทร์ นิ่มทองคำ. (2542). ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับความซื่อสัตย์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนแวนด์ กรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนคริททรวิโรฒ.
ฆนัท ธาตุทอง. (2550). การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น. นครปฐม : เพชรเกษมการพิมพ์.
จริยธรรม.คอม. (2552). ค้นเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2557. จาก www.dhamma.mbu.ac.th
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2553). 80 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. กรุงเทพฯ : แดแนกซ์อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น.
ชุมศักดิ์ อินทร์รักษ์. (2551). การบริหารงานวิชาการและการนิเทศภายในสถานศึกษา. พิมพ์คร้ังที่ 5. ปัตตานี : ฝ่ายเทคโนโลยีทางการศึกษา สำนักงานวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตปัตตานี.
ชูศรี สุวรรณโชติ. (2544). หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร. กรุงเทพฯ : อักษรไทย.
ดุษฎี เพ่งพินิจ. (2552). การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง นิทานพื้นบ้านจังหวัดชัยภูมิสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนแก้งคร้อวิทยา. ภาคนิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
ตวงรัตน์ วาห์สะ. (2553). พฤติกรรมความซื่อสัตย์ของนักเรียนช่วงชั้นที่ 3 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 9 จังหวัดนครปฐม . วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาชุมชน ภาควิชาจิตวิทยา และการแนะแนว มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ทิศนา แขมมณี. (2553). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธนาวดี ท่าใหญ่. (2544). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านความซื่อสัตย์สุจริตของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยวิธีการตามแนวอริยสัจ และวิธีสอนตามคู่มือครู. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ธีธัช บำรุงทรัพย์ , 2556 , การน้อมนำแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการทำงาน. ค้นเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2557 จาก http://www.oknation.net/blog/print.php?id=880579
ธีระ รุญเจริญ. (2550). การบริหารโรงเรียนยุคปฏิรูปการศึกษา.กรุงเทพฯ : เอ็กซเปอร์เนท
ธำรง บัวศรี. (2542). ทฤษฎีหลักสูตร การออกแบบและพัฒนา (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : พัฒนาศึกษา.
นิคม ชมพูหลง. (2545). วิธีและขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นและการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษามหาสารคาม : อภิชาตการพิมพ์.
นงลักษณ์ วิรัตน์ชัย. (2543). พรหมแดนความรู้ด้านการวิจัยและสถิติ. ชลบุรี : วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา
บุญชม ศรีสะอาด. (2546). การพัฒนาหลักสูตรและการวิจัยเกี่ยวกับหลักสูตร. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน์.
บุณยฤทธิ์ มิทราวงศ์. (2546). การสร้างแบบทดสอบวัดจริยธรรมด้านความซื่อสัตย์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดมหาสารคาม. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ปรียาพรวงศ์ อนุตรโรจน์. (2543). การบริหารงานวิชาการ.กรุงเทพฯ : ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.
_______.(2544).การบริหารงานวิชาการ.กรุงเทพฯ : พิมพ์ดีจำกัด.
เปิดขอบฟ้าคุณธรรมจริยธรรมปีที่ 2. (2554, กรกฎาคม). ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม (ศูนย์คุณธรรม) สำนักบริหารและพัฒนาองค์ความรู้, น.1
พิภพ วชังเงิน. (2546).จริยธรรมทางธุรกิจ. กรุงเทพ ฯ : อมรการพิมพ์.
แพรภัทร ยอดแก้ว. (2551). พัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก. สืบค้นเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2556. จาก http://www.gotoknow.org/posts/236980
มัญชุภา ว่องวีระ. (2541).จริยธรรมกับการพยาบาล . สงขลา : ชานเมืองการพิมพ์ .
ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์จํากัด.
วิกิพีเดียสารานุกรมออนไลน์. (2556). บทความ. ค้นเมื่อวันที่ 1 กันยายน 2556. จาก http://th.wikipedia.org/wiki
__________.(2557).ความหมายของจริยะธรรม. ค้นเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2557 . จาก http://th.wikipedia.org/wiki/จริยธรรม
วิชัย ตันศิริ. (2550). อุมการณ์ทางการศึกษา ทฤษฎีและภาคปฏิบัติ. (พิมพ์ครั้งที่ 2) กรุงเทพฯ :
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิชัย ประสิทธิ์วุฒิเวชช์. (2542). การพัฒนาหลักสูตรสานต่อที่ท้องถิ่น. กรุงเทพฯ : เซนต์เตอร์ดิสคัพเวอรี่.
วิชิต สุรัตน์เรืองชัย. (2540). วิธีสอนทั่วไป. กรุงเทพฯ : ภาควิชาหลักสูตรและการสอน. กรุงเทพฯ :
คณะศีกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
วิโฬฏฐ์ วัฒนานิมิตกูล. (2553,มกราคม). เอกสารคำสอน รายวิชาหลักสูตรและการสอน. กรุงเทพฯ :
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย. (2556 , มิถุนายน). บทความ. ค้นเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2556.
จาก http://thainews.prd.go.th/centerweb/News/NewsDetail?NT01_NewsID=WNPOL56060200200212
สงบ ลักษณะ. (2542). ปฏิรูปหลักสูตร : ที่สอดคล้องกับการร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ. กรุงเทพฯ :กระทรวงศึกษาธิการ.
สุรางค์ โค้วตระกูล. (2553). จิตวิทยาการศึกษา.กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร “ผู้แต่ง”. (2554). หลักสูตรโตไปไม่โกงชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 : กรุงเทพ.
สำลี รักสุทธิ. (2544). เทคนิควิธีการเขียนหลักสูตร. กรุงเทพฯ : พัฒนาศึกษา.
เสาวลักษณ์ รอดผล (2549).การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นจังหวัดชุมพร สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสอาดเผดิมวิทยา. ภาคนิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
อนุศักดิ์ สมิตสันต์. (2540). การบริหารวิชาการ. กรุงเทพฯ : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒบางเขน. (เอกสารอัดสำเนา)
องค์กรต่อต้านทุจริตคอร์รัปชั่น. 2556, บทความ. ค้นเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2556. จาก https://www.facebook.com/ACT.AntiCorruptionThailand/posts/133324536832302
Beauchamp, George A. (1968). Curriculum Theory. ed.). Illiois : F.E.Peacock Publisher
Beckner, Weldon & Joe, Cornett. D. (1974). The Secondary School Curriculum : Content and Structure. Scranton Pennsylvania : Educational Publishers.
Bobbitt, F. (1918). Thecurriculum. Boston : Houghton Miffin.
Caswll & Cambell. (1935). Curriculum Development. New York : American Book Company.
Edwards , Allen L. (1957). Technique of Attitude Scale Construction. New York : Applrton – century – Croft.
Good, C.V. (1973). Dictionary of Education. ed.). New York : McGraw Hill.
Hass, G. (1980). Curriculum Planning : A New York Approach. Boston : Alyn and Bacon.
Saylor, J.G & Alexander, W.M. (1974). Planning Curriculum for School. New York : Holt, Rinehart and Winston.
Shaver, J. & Berlak, H. (1968). Democracy , Pluralism and the Social Studies. Boston : Houghton Miffin.
Taba, H. (1962). Curriculum Development : Theory and Practice. New York : Harcourt, Brace & Workd.
Tyler, R.W. (1949). Basic Principles of Curriculum and Instruction. Chicago : The University.
Wheeler, D.K. (1974). Curriculum Process. London : University of London Press.
Zais, Robert S. (1976). Curriculum : principles and foundations. New York : Crowell