ปัจจัยสำเร็จของการลดปัญหาความยากจน

Main Article Content

ชูชิต ชายทวีป

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการลดปัญหาความยากจนจากงานวิจัยตั้งแต่ปี ค.ศ. 2011-2014 ที่เป็นปัญหาเรื้อรัง และความยากจนยังถือเป็นวิกฤติที่ทั่วโลกจะต้องร่วมกันแก้ไขเพื่อให้ประชาชนในประเทศของตนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ประเทศกำลังพัฒนาส่วนใหญ่มีประชากรยากจนมากกว่าประเทศที่พัฒนาแล้ว เหตุผลประการหนึ่ง คือ รัฐมีศักยภาพในการบริหารจัดการปัญหาความยากจนอย่างมีระบบและมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับความต้องการขั้นพื้นฐานของคนจน ซึ่งจากการสังเคราะห์งานวิจัยในช่วงปี ค.ศ. 2011-2014 พบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการลดปัญหาความยากจนดังนี้              การมีส่วนร่วม การกระจายทรัพยากร นโยบาย การขจัดคอรัปชั่น และการตื่นรู้ของประชาชน ปัจจัยทั้งหมดนี้สามารถนำไปสู่การลดลงของปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืนและทำให้เกิดการ “กินดี อยู่ดี มีสุข

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กลุ่มงานสารสนเทศการพัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบูรณ์. (2559). คู่มือแนวทางการ ดำเนินงานโครงการการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ : ชี้เป้าชีวิต จัดทำเข็มทิศ ชีวิต บริหารจัดการชีวิต และดูแลชีวิตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2559. จังหวัดเพชรบูรณ์.
บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ บุญมี ลี้ เทพกร ณ สงขลา.(2545). อุปสรรคด้านกฎหมายและนโยบายการพัฒนาที่ ส่งผลกระทบต่อความยากจนของคนไทย. สถาบันพระปกเกล้า.
ธนพล สราญจิตร์. ปัญหาความยากจนในสังคมไทย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม, 2558). หน้า 12-21.
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. ภาวะความยากจนของครัวเรือนเกษตร ปีเพาะปลูก 2556/57. กรุงเทพมหานคร, 2557.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, สำนักพัฒนาฐานข้อมูลและตัวชี้วัดภาวะ สังคม. รายงานการวิเคราะห์สถานการณ์ ความยากจนและความเหลื่อมล้ำในประเทศไทย ปี 2555. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2557.
อานันท์ชนก สกลธนวัฒน์.(2554). โครงการศึกษาพลวัตของความยากจน: กรณีศึกษาครัวเรือน ชาวนาในพื้นที่เขตชนบทภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลางของไทย. รายงานวิจัย ฉบับสมบูรณ์. ชุดโครงการนโยบายการเฝ้ามองนโยบายเกษตรไทย สถาบันคลังสมองของ ชาติ. สำนักงานสนับสนุนกองทุนวิจัย (สกว.).
ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ และคณะ สุเมธ แก่นมณีและคณะ. (2549). นโยบายกระจายอำนาจและเพิ่มพลังให้แก่ ท้องถิ่น ศึกษาการทำงานเชิงบูรณาการของหน่วยงานภาครัฐในการลดความยากจน. รายงาน โครงการวิจัย. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ.
Abu Girma Moges. (2013). Political Economy of Poverty Reduction. International Journal of African Development. Vol.1, Issue 1 (Fall 2013). pp.19-39.
Alex Hou Hong Ng, Abdul Ghani Farinda, Fock Kui Kan, Ai Ling Lim, Teo Ming Ting. Poverty: Its Causes and Solutions. World Academy of Science, Engineering and Technology. International Journal of Social, Behavioral, Educational, Economic, Business and Industrial Engineering. (2013). Vol.7, No. 8, pp.24711-2475.
Cunguara, B., (2011). Assessing Strategies to Reduce Poverty in Rural Mozambique. Doctoral Thesis. University of Natural Resources and Life Sciences, Vienna.
Dye, Thomas R. (2005). Understanding Public Policy. New Jersey: Pearson Education, Chapter 5: Poverty and Welfare. The search for a rational strategy, pp.107-139.
Ellis, F. (2000). Rural Livelihood Diversity in Developing Countries: Analysis, Method. Policy. Oxford University Press.
Hasan Basri Tarmizi. (2014). An Analysis of Influencing Factors on Poverty in Sustainability Development Framework: A Case in Deli Serdang Regency, Indonesia. Journal of Economics and Behavioral Studies. V.6, No.7, pp.581-590, July 2014.
Haughton, J. and S.R. Khandker, Poverty Inequality Handbook. 2007, Washington D.C.: World Bank.
Haughton, J., & Khandker, S. R. (2009). Handbook on Poverty and Inequality. Washington D. C.: World Bank.
Kate Schneider, Professor Mary Kay Gugerty. (2011). Agricultural Productivity and Poverty Reduction: Linkages and Pathways. The Evans School Review. Vol.1, No.1, Spring 2011. pp. 69.
Mead, L.M. (1986). Beyond Entitlement: the Social Obligations of Citizenship. New York, NY: Free Press.
Oxford Dictionary. (2016). [cited 2016 29 September] Available From: https://en.oxforddictionaries.com
Roseline Jindori Yunusa. (2012). The Factors That Influence the Effectiveness of Poverty Alleviation Programs in Nigeria. Department of Family Studies and Social Work, Miami University, Oxford, Ohio. Master of Science.
Sameti, M. Esfahani Dallali R. Haghighi Karnameh, H. Theories of Poverty: A Comparative Analysis. Kuwait Chapter of Arabian Journal of Business and Management Review. Vol.1, No. 6; February, 2012.
Sebastian Njagi Runguma. (2014). The Political Economy of Poverty Reduction in Kenya: A comparative Analysis of Two Rural Counties. The Faculty of Humanities, University of the Witwatersrand, Johannesburg. Thesis of Doctor of Philosophy in Development Studies, pp.216-226 Sumner, A., Economic well-being and non-economic well-being. 2004, Geneva. UN: World Institute for Development Economics Research.
Vora-Sittha P.(2012). Governance and Poverty Reduction in Thailand. Modern Economy, 2012, 3, 487-497 Available From: http://dx.doi.org/10.4236/me.2012.35064 published Online September 2012 (http://www.SciRP.org/journal/me)