ดุริยลักษณ์กลองตุ้มในพิธีกรรมของชาวอำเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม

Main Article Content

ชัยวัฒน์ โกพลรัตน์

บทคัดย่อ

จุดประสงค์เพื่อศึกษาประวัติและพัฒนาการ บทบาทหน้าที่ รูปแบบ การผสมวงและจังหวะการบรรเลงของกลองตุ้มในเขตพื้นที่อำเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม กลองตุ้ม เป็นนามที่ชาวในเขตอำเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม ใช้ เรียกวงดนตรีประโคมชนิดหนึ่ง ที่นิยมใช้ประโคมในขบวนแห่ต่าง ๆ อันเป็น ประเพณีที่สำคัญเกี่ยวข้องกับคติความเชื่อ ศาสนา และวัฒนธรรมของชุมชน โดยเฉพาะในช่วงฤดูเดือน 6 ถึงเดือน 7 ซึ่งในท้องถิ่นมีการจัดงานบุญพระ เวสสันดรหรือบุญมหาชาติและบุญบ้ังไฟ จะมีการประโคมกลองตุ้มฟ้อนรำไป รอบหมู่บ้าน จนถือได้ว่ากลองตุ้มเป็นสัญญาณและสัญลักษณ์ของงานบุญ ประเพณีนี้ การประโคมกลองตุ้มแทรกอยู่ในทุกพิธีกรรมในงานบุญที่มีการแห่ เชน่ การแหพ่ระอปุคตุ การแหก่องบญุตา่ง ๆ แหพ่ระกณัฑจ์อบกณัฑห์ลอน แห่ พราหมณ์ แหพ่ระเวสสนัดรเขา้เมอืง เปน็ตน้ โดยเฉพาะในเทศกาลบญุเดอืนหก นอกจากจะเป็นสัญญาณยังเป็นสัญลักษณ์อันแสดงถึงเกียรติยศ และกลองตุ้ม ยงัเปน็วงดนตรปีระโคมเกยี่วขอ้งกบัพธิกีรรมเพอื่ความอดุมสมบรูณ์ ทยี่งัคงอยู่ ในคติความเชื่อของชาวอำเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม สามารถเชื่อมโยงไป ถึงคติเก่าแก่ของคนในภูมิภาคอุษาคเนย์ในวัฒนธรรมกลองทอง (มโหระทึก) ที่มีมาแล้วไม่น้อยกว่า 3,000 ปี


รปู แบบการผสมวงของกลองตมุ้ เปน็วงดนตรปีระโคมทปี่ระกอบดว้ย ฆ้องและกลองเป็นหลัก ซึ่งประกอบด้วย ผ่างฮาด (ฆ้องไม่มีปุ่ม) และกลองตุ้ม ซึ่งเป็นกลองไม้สองหน้าขนาดใหญ่หุ้มด้วยหนังควายหรือหนังวัวมีเส้นผ่าน ศูนย์กลางประมาณ 50 เซนติเมตร สอดด้วยไม้คานหามเพื่อให้ง่ายต่อการ บรรเลงขณะเคลอื่นทไี่ปตามขบวน โดยเครอื่งทงั้ 2 เปน็เครอื่งดนตรปีระโคมหลกั นอกจากนี้อาจจะมีเครื่องดนตรีอื่น ๆ เข้ามาประกอบ เช่น กลองหาง สิ่ง แส่ง ฆ้อง สะไน กั้บแก้บ กระจับปี่ พิณ แคน ปี่ บรรเลงร่วมไปกับขบวนกลองตุ้มแต่ ไม่เน้นเป็นรูปแบบตายตัวขึ้นอยู่กับโอกาสของชาวบ้านที่จะเอื้ออำนวย ดรุ ยิ ลกั ษณข์ องการบรรเลงกลองตมุ้ ในอำเภอเรณนูคร จงัหวดันครพนม แบง่เปน็ 2 กลมุ่จงัหวะ คอื “จงัหวะเดนิ” และ “จงัหวะฮำ” ในระหวา่งการบรรเลง จะมกีารบรรเลงจงัหวะยอ่ยเชอื่มตอ่ระหวา่งจงัหวะทงั้ 2 ซงึ่ในแตล่ะทอ้งถนิ่จะ มีรายละเอียดและรูปแบบของดุริยลักษณ์ที่แตกต่างกันออกไปในรายละเอียด แต่โครงสร้างชุดจังหวะการบรรเลงการบรรเลงมีรูปแบบที่เหมือนกัน

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

เจริญชัย ชนไพโรจน์. (2529). รายงานการวิจัยเรื่องดนตรีผู้ไท. มหาสารคาม : คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. เฉลมิ ยงบญุเกดิ. (2557). บนัทกึวา่ดว้ยขนบธรรมเนยีมประเพณขีองเจนิละ. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มติชน. เติม วิภาคย์พจนกิจ. (2557). ประวัติศาสตร์อีสาน. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. เจนจิรา เบญจพงศ์. (2555). ดนตรีอุษาคเนย์. มหาวิทยาลัยมหิดล. จิราภรณ์ วุฒิพันธุ์. (2535). วิทยานิพนธ์ เรื่อง ฟ้อนผู้ไทย ปริญญานิพนธ์ หลักสูตรปริญญาศิลปะศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกไทยคดีศึกษา (เน้นมนุษยศาสตร์). กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรจน์. ธนิต อยู่โพธิ์. (2500). เครื่องดนตรีไทย. กรมศิลปากร. พิมพ์ลักษณ์. พระนคร ณรงค์ เขยีนทองกลุ. (2539). มานษุยดนตรวีทิยา : บา้นบางลำพ ูวทิยานพินธ์ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวัฒนธรรมศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.
ณรงค์ชัย ปิฎกรัชต์. (2544). มานุษยดนตรีวิทยา ดนตรีพ้ืนบ้านภาคใต้. นครปฐม : วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล. ณัชชา พันธุ์เจริญ. (2551). ทฤษฎีดนตรี. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ เกศกะรัต. ณัชชา พันธุ์เจริญ. (2553). สังคีตลักษณ์และการวิเคราะห์. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์เกศกะรัต. ดำรงราชานุภาพ. (2556). นิทานโบราณคดี. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ไทยควอลิตี้บุ๊คส์ (2006) จำกัด. ถวิล ทองสว่างรัตน์. (2527). ประวัติผู้ไทยและชาวผู้ไทยเมืองเรณูนคร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศรีอนันต์. ประทีป ชุมพล. (2525). พื้นเวียงวรรณกรรมแห่งการกดขี่. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์อดีต. ปรีชา พิณทอง. (2495). ประเพณีโบราณ โดย ปรีชา ปริญญาโณ. อุบลราชธานี : โรงพิมพ์ศิริธรรมออฟเซ็ท. ปรีชา พิณทอง. (2532). สารานุกรมภาษาอีสาน – ไทย – อังกฤษ. อุบลราชธานี : โรงพิมพ์ศิริธรรมออฟเซ็ท. ปัญญา รุ่งเรือง. (2546). หลักมานุษยวิทยดุริยางควิทยา Foundation of Ethnomusicilogy เอกสารการสอนรายวชิาดนตรชีาตพินัธว์ุทิยา หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาดนตรีชาติพันธ์ุวิทยา ภาควิชาศิลปนิเทศน์. กรุงเทพมหานคร : คณะมนุษยศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. พิเศษ เจียจันทร์พงษ์. (2555). ตำนาน. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มติชน. พิทูร มลิวัลย์. (2533). ลำพระเวส – เทศน์มหาชาติ หรือมหาเวสสันดรชาดก ภาคอีสาน. กรุงเทพมหานคร : คณะสงฆ์หนตะวันออก จัดพิมพ์ โดยเสด็จพระราชกุศล ออกพระเมรุพระราชทานเพลิงศพ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร) ณ เมรุหลวงหน้า พลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส.
รัศมี ชูทรงเดช. (2544). โบราณคดีสมัยไพลสโตซินในประเทศไทย เอกสาร ประกอบการสัมมนาวิชาการเรื่อง “พัฒนาการทางโบราณคดี”. กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัย ศิลปากร. วชิรญาณวิเศษ. (2437). บั้งไฟ. 9 (46). 445 - 449 ศริพิจน์ เหลา่มานะเจรญิ. (2553). ฆอ้ง-กระดงิ่-กระพรวน-และฉาบ หลกัฐาน การค้าโลกข้ามสมุทรฉบับเอเชีย ในช่วงศตวรรษที่ 9-17 Gongs, Bells, and Cymbals : The Archaeological Record in Maritime Asia from the Ninth to the Seventeenth Centuries by Arsnio Nicolas. (วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, บ.ก.) เพลงดนตรี. ศิริพร จิรวัฒน์กุล. (2553). การวิจัยเชิงคุณภาพด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ. กรุงเทพมหานคร : บริษัทวิทยพัฒน์ จำกัด. สกลสุภา ทองน้อย. (2553). เครื่องดนตรีกัมพูชาโบราณ ของ ยน เคียน แกวู รีวรรณ และคณะ. นครปฐม : สำนักพิมพ์วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล. สนอง คลังพระศรี. (2543). เซิ้งบั้งไฟถวายแถนแม่นบ่หือ? 1-6. สยามรัฐ สัปดาห์วิจารณ์. สมศักดิ์ สร้อยระย้า. (2545). จังหวะ (The Rhythm). กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์. สวงิ บญเจมิ. (2554). ตำรามรดกอสีาน. อบุลราชธานี : สำนกัพมิพม์รดกอสีาน. สายันต์ บุญใบ. (2551). รายงานการวิจัย เรื่องการศึกษาการเล่นลายกลอง กิ่งสกลนคร. สกลนคร : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
สำนักคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ร่วมกับศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดเลย และศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดต่าง ๆ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. (2527). เชิดชูเกียรตินายสาร สาระทัศนานันท์. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภา. สิลา วีระวงส์. (2535). ประวัติศาสตร์ลาว (สมหมาย เปรมจิตต์, แปล). กรุงเทพมหานคร : พริ้นท์ติ้งเซ็นเตอร์. สจุรรยา จนัทรศริ.ิ (2555). ทฤษฎสีงัคม. (ม.ป.ป.) : มหาวทิยาลยัหอการคา้ไทย. สุจิตต์ วงษ์เทศ. (2549). พลังลาวชาวอีสานมาจากไหน? กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มติชน. สุจิตต์ วงษ์เทศ. (2551). ร้องลำทำเพลงดนตรีและนาฏศิลป์ชาวสยาม. โครงการเผยแพรค่วามรสู้.ู่ กรงุเทพมหานคร : โครงการเผยแพรค่วาม รู้สู่สาธารณชน. เรือนแก้วการพิมพ์. สจุติต์ วงษเ์ทศ. (2553). ดนตรไีทยมาจากไหน. นครปฐม : สำนกัพมิพว์ทิยาลยั ดุริยางคศิลป์. สุภางค์ จันทวานิช. (2552). การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สุรพงษ์ ลือทองจักร. (2552). หลักมานุษยวิทยาและหลักสังคมวิทยา. อุดรธานี : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุดรธานี. สุรพล นาถพินธุ. (มกราคม - มิถุนายน 2555). โบราณวิทยาเรื่องโลหะสำริด ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ของประเทศไทย. วารสารดำรงวิชาการ, 1(13), 107 - 132. เขา้ถงึไดจ้าก http ://www.tci-thaijo.org/index. php/damrong/article/view/20775/18040
สรุพล นาถพนิธ.ุ (2556). โบราณวทิยาเรอื่งโลหะสำรดิในยคุกอ่นประวตัศิาสตร์ ของประเทศไทย. กรุงเทพฯ : วารสารดำรงวิชาการ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร. เข้าถึงได้จาก http ://www.damrongjournal.su.ac.th/upload/pdf/51_4.pdf สรุศกัดิ์ ศรสีำอาง. (2545). ลำดบักษตัรยิล์าว. กรงุเทพมหานคร : กรมศลิปากร สำนักโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ. อคิน รพีพัฒน์. (2551). วัฒนธรรมคือความหมาย ทฤษฎีและวิธีการของ คลิฟฟอร์ด. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์กร มหาชน). อดศิร ศกัดสิ์งู. (2550). วธิวีทิยากบัประวตัศิาสตร ์: พนื้ฐานการวจิยั. วารสาร มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 ตุลาคม 2550 – มีนาคม 2551. อนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพนายฮวด ทองโรจน์ (อดีต ส.ส.มหาสารคาม) ณ เมรุวัดจักรวรรดิราชาวาส. (2512). เรื่องพระเชตพนพิมพ์. พระนคร : โรงพิมพ์เลี่ยงเซียงจงเจริญ. อัดสำเนาหนังสือรำลึกอดีต ที่ระลึกในงานฌาปนกิจศพ นางบุญมี คำบุศย์ ร้อยเอ็ด (ม.ป.ป.). (ม.ป.ป.). อานันท์ นาคคง. (2553). บทความเส้นทางสายมานุษยวิทยาดนตรี ในประเทศไทย ในหนังสือรวมบทความและบทเสวนาจากการ ประชุมประจำปีทางมานุษยวิทยา ครั้งที่ 9 เสียงของโลก 1 ผู้คน ดนตรี ชีวิต. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. อารมณ์ สุดใจ. (2514). เครื่องดนตรีไทย. กรุงเทพมหานคร : วิทยานิพนธ์ ปริญญาศิลปบัณฑิต (โบราณคดี) คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัย ศิลปากร.