ทุนนิยมกับสิ่งแวดล้อม: การพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศไทยกับ การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม สังคม และสุขภาพ นนิยมกับสิ่งแวดล้อม: การพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศไทยกับ การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม สังคม และสุขภาพ

Main Article Content

คนางค์ คันธมธุรพจน์

บทคัดย่อ

ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมก่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างไม่ยั่งยืนและเกิดปัญหามลพิษซึ่งส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสุขภาพของคนในชุมชน ดังนั้น การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม สังคม และสุขภาพ (EHIA) จึงถูกนำมาเป็นเครื่องมือในการลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการพัฒนาโครงการให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ทำให้ทุนนิยมเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และทำให้สังคมเกิดความยั่งยืนมากขึ้น บทความนี้กล่าวถึงความเป็นมาของการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม กระบวนการพิจารณารายงาน และปัญหาในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม สังคม และสุขภาพ ของประเทศไทย พร้อมทั้งเสนอแนะทางออกที่เป็นไปได้ในการทำให้การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม สังคม และสุขภาพ เป็นเครื่องมือในการลดผลกระทบที่มีประสิทธิภาพและเป็นที่ยอมรับของทุกฝ่าย

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Mooers, C. (1991). The making of bourgeois Europe: Absolutism, revolution, and the rise of capitalism in England, France, and Germany: Verso.
Moore, J. W. (2003). The Modern World-Systemas environmental history? Ecology and the rise of capitalism. Theory and Society, 32(3), 307-377.
Sayer, A., & Walker, R. (1992). The new social economy: Reworking the division of labor: Blackwell Cambridge, MA.
Sdobnikov, Y. (1971). Socialism and Capitalism: Score and Prospects (Moscow: Progress Publ., 1971). The book was compiled by staff members of the Institute of World Economy and International Relations, and the senior contributor was Prof. V. Aboltin, 20.
Suwan, S. (2007). สถานภาพ และ ทิศทาง ของ บัณฑิต ศึกษา ด้าน การ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์
Wallerstein, I. (2011). The Modern World-System I: Capitalist Agriculture and the Origins of the European World-Economy in the Sixteenth Century, With a New Prologue (Vol. 1): University of California Pr.
กลุ่มเลขานุการคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ. (2556). คณะกรรมการผู้ชำนาญการภายใต้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ. Retrieved 21 พฤศจิกายน, 2556, from https://www.onep.go.th/neb/4.%20Subcommittee/webpage/sub_expert.html
ญาณิศา ศิริพรกิตติ. (2556). ความสำคัญของการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม กฎหมาย กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง บทบาทของหน่วยงานอนุญาต. สำนักวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม Retrieved 11 พฤศจิกายน 2556 https://www.onep.go.th/eia/index.php?option=com_content&view=article&id=54:2013-07-04-04-29-02
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติและแนวทางในการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรราชาติ และสุขภาพ ลงวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ.2552, 126 ตอนพิเศษ 188 ง C.F.R. (2552).
รสริน อมรพิทักษ์พันธ์. (2556). กระบวนการทาง EIA จนถึง EHIA ตามรัฐธรรมนูญในมุมมองของ สผ. Paper presented at the การสร้างเครือข่ายการประเมินผลกระทบทางสุขภาพในพื้นที ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลาง https://www.iceh.or.th/iceh/img_news_activity/56July12/2.pdf
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2556). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. Retrieved 11 พฤศจิกายน 2556, from www.nesdb.go.th/Default.aspx?tabid=62
สำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ. (2556). ความเป็นมาของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ. Retrieved 13 พฤศจิกายน 2556, from https://www.onep.go.th/neb/1.%20About_neb/webpage/neb_background.html
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2556a). ความเป็นมาของสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. Retrieved 11 พฤศจิกายน 2556, from https://www.onep.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=58&Itemid=135
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2556b). โครงการที่จะต้องทำการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามกฏหมาย. Retrieved 11 พฤศจิกายน 2556, from eia.onep.go.th/dat.html
สำนักวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม. (2556). ระบบการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย. Retrieved 11 พฤศจิกายน 2556, from https://www.onep.go.th/eia/index.php?option=com_content&view=article&id=30&Itemid=127
อิศรพันธ์ กาญจนเรขา. (2554). การพิจารณาโครงการและจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม. Paper presented at the การฝึกอบรมหลักสูตร การพัฒนาบุคลากรและเสริมสร้างความพร้อมสำหรับตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด