การบริหารความเสี่ยงทางการเงินของคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

Main Article Content

ธัญญรัตน์ พุ่มผกา
วรรณวิมล สิทธิโชคสัมพันธ์

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์       1)            เพื่อศึกษาเหตุการณ์ ความเสี่ยงทางการเงินของคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์                มหาวิทยาลัยมหิดล              2)            เพื่อทราบระดับความเสี่ยงทางการเงินของคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์                มหาวิทยาลัยมหิดล              และ         3)            เพื่อหาแนวทางการบริหารความเสี่ยงทางการเงินของ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์         มหาวิทยาลัยมหิดล              ประชากร               คือ           ผู้บริหารที่ รบัผดิชอบดา้นการบรหิารความเสยี่ง           และบคุลากรทรี่บัผดิชอบงานดา้นการเงนิของ คณะฯ           จานวน    15           คน           เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง                วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหา        (Content              Analysis)              ผลการ ศึกษาพบว่า             1)                เหตุการณ์ความเสี่ยงทางการเงินของคณะสังคมศาสตร์และ มนุษยศาสตร์  มหาวิทยาลัยมหิดล              ในภาพรวมเป็นเหตุการณ์เกี่ยวกับงบประมาณ ของคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์      ที่ได้รับจัดสรรไม่เพียงพอกับโครงการใน แผนปฏิบัติการประจาปี  เงินนอกงบประมาณรายได้ปลายปีไม่เพียงพอต่อการ เบิกจ่าย   ดอกเบี้ยรับจากการจัดหาประโยชน์จากเงินรายได้สะสมลดลง      ค่าใช้จ่ายที่ นามาเบกิจา่ยไมม่ปีระกาศรองรบัในการเบกิจา่ยเงนิ บคุลากรของคณะสงัคมศาสตร์


และมนุษยศาสตร์ส่งคืนเงินยืมทดรองจ่ายล่าช้าเกินกำหนด           และการจ่ายเงินล่าช้า           ผิดพลาด                ในส่วนเหตุการณ์ความเส่ียงทางการเงินของภาควิชาคือ        สถานะทาง การเงินของหลักสูตรไม่มีความมั่นคง             และรายได้ไม่เพียงพอต่อการบริหารงานใน หลกัสตูร      และในสว่นเหตกุารณข์องความเสยี่งทางการเงนิของศนูย์ฯ   คอื           การไดร้บัจดัสรร งบประมาณสนับสนุนจากสำนักงบประมาณน้อยมาก                นอกจากนี้              ยังมีความเสี่ยงที่ เกิดจากปัจจัยภายนอกคือ     ระบบฐานข้อมูล    MUERP มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ฐานข้อมูล                2)            ระดับความเสี่ยงทางการเงินของคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง      ซึ่งเป็นระดับความเสี่ยงที่มหาวิทยาลัยยอมรับได้     แต่ ตอ้งมกีารตดิตามเฝา้ระวงัมาตรการควบคมุใหด้เนนิไปอยา่งสม่ำเสมอและตอ่เนอื่ง                      และ                3)            แนวทางการบริหารความเสี่ยงทางการเงินของคณะสังคมศาสตร์และ มนุษยศาสตร์  ครอบคลุมตั้งแต่การจัดประชุมชี้แจงทุกหน่วยงานในคณะฯ               ให้เข้าใจ สถานการณ์ด้านการเงินของคณะฯ    และให้ทุกหน่วยงานวางแผนจัดทำแผนปฏิบัติ การล่วงหน้า       1-2                ปี             ในการทำกิจกรรม/โครงการ            สำหรับแนวทางการบริหารความ เสยี่งทางการเงนิของภาควชิาฯ             คอื           ใหภ้าควชิาสามารถประชาสมัพนัธห์ลกัสตูรอยา่ง ต่อเนื่องในเชิงรุก               รวมถึงปรับปรุงหลักสูตรให้เป็นไปตามความต้องการของผู้ที่ ตอ้งการศกึษาได          ้สว่นแนวทางการบรหิารความเสยี่งทางการเงนิของศนูยค์อื         การให้ ศนูยจ์ดัอบรมเกบ็คา่ลงทะเบยีนได     ้ขอ้เสนอแนะจากการวจิยัคอื     ผบู้รหิารทรี่บัผดิชอบ การบริหารความเสี่ยงควรมองเหตุการณ์ความเส่ียงทางการเงินที่อาจจะเกิดขึ้นใน อนาคตดว้ย       และควรใหค้วามสำคญักบัปจัจยัภายใน              และปจัจยัภายนอกทอี่าจจะสง่ ผลกระทบถึงความเสี่ยงทางการเงิน             นอกจากนี้              การบริหารความเสี่ยงทางการเงิน             ควรได้รับความร่วมมือจากทุกหน่วยงานในคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์         จะ ได้รับประสิทธิผลมากกว่าให้หน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งเป็นผู้รับผิดชอบ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ณัฐมน พันธุมจินดา. (2557). ประสิทธิผลการพัฒนาระบบการบริหารความเสี่ยง ของมหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชานโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล. นิตยา ลำเภาพงศ์. (2555). การศึกษาความเสี่ยงในการบริหารงบประมาณของ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. การค้นคว้าอิสระ ปริญญารัฐประศาสนศาสตร มหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัย เชียงใหม่. พัชรินทร์ ขำวงษ์. (2554). การบริหารความเสี่ยงงานการเงิน บัญชีและพัสดุของ สถานศึกษาภาครัฐแห่งหนึ่ง. การค้นคว้าอิสระ ปริญญาบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต วิชาเอกการบัญชี, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. ไพรวลัย ์คณุาสถติชยั. (2553). การบรหิารความเสยี่งดา้นการเงนิของมหาวทิยาลยั ขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. มานิต ลอศิริกุล. (2553). การบริหารความเสี่ยงองค์การรัฐวิสาหกิจด้าน พลังงานไทย. ดุษฎีนิพนธ์ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์, มหาวิทยาลัย รามคำแหง. วิฑูรย์ สมโต. (2551). การบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการของธนาคารกรุงไทย ในจังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ศูนย์บริหารจัดการความเสี่ยง มหาวิทยาลัยมหิดล. (2557). คู่มือการบริหารความเสี่ยง มหาวิทยาลัยมหิดล. [Online]. สืบค้นเมื่อ 10 มกราคม 2558 เข้าถึงได้ จาก http://mahidol.ac.th/green/pdf สำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน. (มปป.). พระราชกฤษฎีกาว่าด้วย หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารบรหิ ารกจิ การบา้ นเมอื งทดี่ ีพ.ศ. 2546. [Online]. สบื คน้ เมอื่ 21 กรกฎาคม 2558 เขา้ ถงึ ได ้จาก http://www.amlo.go.th/ amlofarm /farm/web/files/gto(5).pdf