การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับโทรศัพท์มือถือเพื่อพัฒนาผู้เรียน

Main Article Content

อิทธิศักดิ์ ศรีดำ

บทคัดย่อ

การศึกษาเป็นปัจจัยสำคัญที่สุดเพื่อให้ประเทศชาติเกิดความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจและสังคมได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน ในอนาคตการศึกษาที่ดีและมีประสิทธิภาพจะต้องมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศร่วมกับเครื่องมือและอุปกรณ์ เช่น โทรศัพท์มือถือในการพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ได้สูงสุด การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับโทรศัพท์มือถือเพื่อพัฒนาผู้เรียนเป็นการจัดการศึกษาทางไกลในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์หรือสื่อดิจิทัล เป็นวิธีการใหม่หรือนวัตกรรมใหม่ทางการศึกษาที่มุ่งส่งเสริมผู้เรียนให้สามารถมีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนจากต่างสถานที่ ต่างเวลาหรือเวลาเดียวกัน สอดคล้องกับเป้าหมายทางการศึกษาในยุค Thailand 4.0 แต่ต้องมีคุณลักษณะที่สอดคล้องกับการนำไปใช้ในการสร้างผลสัมฤทธิ์ในบริบทของแต่ละสถาบันการศึกษา ซึ่งจากการสรุปผลถึงวิธีการนี้ในต่างประเทศ พบว่าการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับโทรศัพท์มือถือจะเป็นวิธีการเรียนรู้ใหม่ในอนาคตที่มีประสิทธิผลมากที่สุด อันจะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน สถาบันการศึกษา สังคมและประเทศชาติ ต่อไป

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

[1] กระทรวงศึกษาธิการ. (2561). แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง (2560-2579), กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
[2] สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2561). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545, กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
[3] ศูนย์สื่อการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. (2561). E-learning คืออะไร,สืบค้นจาก https://www.ram.edu/elearning/what_e_learning.php, 5 มีนาคม 2561.
[4] Böhm, S.,andConstantine, G. P. (2016). Impact of contextuality on mobile learning acceptance: an empirical study based on a language learning app, Interactive Technology and Smart Education, 13(2), 107-122.
[5] สุพรรณี ชาญประเสริฐ. (2556). การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21, สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 42(185), 10-13.
[6] สำนักการจัดการศึกษาออนไลน์. (2558). โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิร์นนิงในระดับอุดมศึกษา ประจำปี 2559, สำนักการจัดการศึกษาออนไลน์, มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
[7] Yang, S. C. (2012). Mobile applications and 4G wireless networks: a framework for analysis, Campus-Wide Information Systems, 29(5), 344-357.
[8] deNoyelles, A., and Seilhamer, R. (2015). Facilitating professional development of mobile and eTextbook technologies: A special interest group approach, Journal of Applied Research in Higher Education, 7(1), 55-67.
[9] Bray, E., Aoki, K., and Dlugosh, L. (2008). Predictors of learning satisfaction in Japanese online distance learners, The International Review of Research in Open and Distributed Learning, 9(3).
[10] Passey, D., and Zozimo, J. (2016). Developing mobile learning practices through teacher education: Outcomes of the MLEARN pilot, Interactive Technology and Smart Education, 13(1), 36-51.
[11] West, D., and Thompson, S. (2015). Mobile knowledge: Driving a paradigm shift, Journal of Applied Research in Higher Education, 7(1), 43-54.
[12] Garcia, E., Elbeltagi, I., and Bugliolo, M. (2015). Introducing 4G mobile networks: implications for UK higher education,The International Journal of Information and Learning Technology, 32(2), 124-135.
[13] Male, G., and Pattinson, C. (2011). Enhancing the quality of e-learning through mobile technology: A socio-cultural and technology perspective towards quality e-learning applications, Campus-Wide Information Systems, 28(5), 331-344.
[14] Squire, K. (2009). Mobile media learning: multiplicities of place, On the Horizon, 17(1), 70-80.
[15] Ssekakubo, G., Suleman, H., and Marsden, G. (2013). Designing mobile LMS interfaces: learners' expectations and experiences, Interactive Technology and Smart Education, 10(2): 147-167.
[16] Harvard Extension School. (2018). Distance Education: Online Courses at Harvard, Retrieved from https://www.extension.harvard.edu/distance-education. March 6, 2018.
[17] Alves, P., and Uhomoibhi, J. (2010). Issues of e-learning standards and identity management for mobility and collaboration in higher education, Campus-Wide Information Systems, 27(2), 79-90.
[18] Sungkur, R. K., Panchoo, A., and Bhoyroo, N. K. (2016). Augmented reality, the future of contextual mobile learning, Interactive Technology and Smart Education, 13(2), 123-146.
[19] Kanala, S., Nousiainen, T., and Kankaanranta, M. (2013). Using a mobile application to support children's writing motivation, Interactive Technology and Smart Education, 10(1), 4-14.
[20] Tam, V. (2012). An intelligent e-learning software for learning to write correct Chinese characters on mobile devices, Interactive Technology and Smart Education, 9(4), 191-203.
[21] Andrews, T., Tynan, B., and James, R. (2011). The lived experience of learners' use of new media in distance teaching and learning, On the Horizon, 19(4), 321-330.
[22] Carpentier, V., Pachler, N., Evans, K., and Daly, C. (2011), Work-Learn-Educate: the WLE Centre for Excellence's conceptualisation of work-based learning, Higher Education, Skills and Work-Based Learning, 1(3), 216-230.
[23] สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560-2564, กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.
[24] สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2561). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553, กรุงเทพฯ: สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา.