ผลกระทบของทรัพยากรเทคโนโลยีสารสนเทศที่ส่งผลต่อความสามารถทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่และผลการดำเนินงานของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์

Main Article Content

Palan - Jantarajaturapath

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อทดสอบความสัมพันธ์และผลกระทบระหว่างทรัพยากรเทคโนโลยีสารสนเทศที่ส่งผลต่อผลการดำเนินงาน โดยมีความสามารถทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่เป็นตัวแปรกลาง ของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้บริหารฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์จำนวน 114 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่าย และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่าทรัพยากรเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทรัพยากรโครงสร้างพื้นฐานไอที ด้านทรัพยากรมนุษย์เกี่ยวกับไอที และด้านทรัพยากรความสัมพันธ์กับไอที มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับผลการดำเนินงาน มีความสามารถทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ด้านการสร้างนวัตกรรม ด้านการวางแผนการตลาดและด้านความสัมพันธ์กับผู้จัดหาปัจจัยการผลิต เป็นตัวแปรกลาง ผลลัพธ์ที่ได้จากการวิจัย สามารถนำไปเป็นแนวทางในการกำหนดการบริหารองค์กรของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์โดยมีการมุ่งเน้นลงทุนทรัพยากรเทคโนโลยีสารสนเทศและส่งเสริมให้มีความสามารถทางด้านเทคโนโลยีสมัยใหม่ เพื่อให้องค์กรมีความได้เปรียบในการแข่งขันและมีผลการดำเนินงานที่ดียิ่งขึ้น สามารถอยู่ได้อย่างยั่งยืนต่อไป


 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

[1] กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2559). ระบบคลังข้อมูลธุรกิจ. สืบค้นเมื่อ 25 ธันวาคม 2559. จาก https://datawarehouse .dbd.go.th /bdw/home/login.html.
[2] กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. 2560. ธุรกิจดาวรุ่งปี 2560. สืบค้นเมื่อ 5 มกราคม 2560. https:// https://dbd.go.th/ more_news.php?cid=1153
[3] กระทรวงพาณิชย์. (2559) นโยบายรัฐบาล 2559. สืบค้นเมื่อ 6 มกราคม 2560. จาก https://www.moc.go.th/
images/strategic/str003.pdf
[4] ชัยรัตน์ จุสปาโล (2554). ความสอดคล้องระหว่างกลยุทธ์เทคโนโลยีสารสนเทศกับกลยุทธ์ธุรกิจและประสิทธิผลการดำเนิน
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ. จุฬาลงกรณ์ปริทัศน์ 33 (130) : 31-57.
[5] นิติรัตน์ ปรีชาเวช (2554). นวัตกรรมในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์. วารสารวิจัยและสาระสถาปัตยกรรม/การผังเมือง 8(2): 127
[6] บุญชม ศรีสะอาด (2533). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 9. ฉบับปรับปรุงใหม่. กรุงเทพฯ :สุวีริยาสาส์น.
[7] ศักดิ์ชัย ตั้งวรรณวิทย์ (2555). กลยุทธ์ระบบสารสนเทศและการพัฒนาแผนระบบสารสนเทศ. วารสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศ 8(2): 56-63.
[8] Barney, J. (1991). Firm Resources and Sustained Competitive Advantage. Journal of Management, 17(1): 99 -120.
[9] Braojos, J., J. Benitez, et al. (2018). How Do Social Commerce-It Capabilities Influence Firm Performance? Theory And Empirical Evidence. Information & Management. https://doi.org/10.1016/j.im.2018.04.006
[10] Chen, J.-S. and H.-T. Tsou (2012). Performance Effects Of It Capability, Service Process Innovation, and The Mediating Role of Customer Service. Journal of Engineering and Technology Management 29(1): 71-94.
[11] Chen, Y., Y. Wang, et al. (2015). IT capabilities and product innovation performance: the roles of corporate entrepreneurship and competitive intensity. Information & Management 52(6): 643-657.
[12] Kaplan, R. S. and D. P. Norton. The Strategy Focused Organization: How Balanced Scorecard Companies Thrive in the New Business Environment. Boston, MA : Harvard Business School Press, 2000.
[13] Karagoz, İ. B. and A. E. Akgun (2015). The Roles of It Capability and Organizational Culture on Logistics Capability And Firm Performance. Journal of Business Studies Quarterly 7(2): 23
[14] Liang, T.-P., J.-J. You, et al. (2010). A Resource-Based Perspective on Information Technology and Firm Performance: A Meta Analysis. Industrial Management & Data Systems 110(8): 1139 –1155.
[15] Mao, H., et al. (2016). Information Technology Resource, Knowledge Management Capability, and Competitive Advantage: The Moderating Role Of Resource Commitment. International Journal of Information Management 36(6, Part A): 1062-1074.
[16] Pérez-Aróstegui, M., F.Bustinza-Sánchez, et al. (2015). Exploring The Relationship Between Information Technology Competence and Quality Management. BRQ Business Research Quarterly 18(1): 4-17.
[17] Nunnally C., J. and I. H. Bernstein (1994). Psychometric theory. New York, McGraw-Hill.
[18] Pooe, D., C. Mafini, et al. (2015). The Influence of Information Sharing, Supplier Trust nd Supplier Synergy on Supplier Performance: The Case of Small and Medium Enterprises. Journal of Supply Chain Management 9(11): 1 12.
[19] Trainor, K. J., A. Rapp, et al. (2011). Integrating Information Technology and Marketing: An Examination of the Drivers and Outcomes of E-Marketing Capability. Industrial Marketing Management 40 (1): 162-174.
[20] Yoon, C. Y. (2011). Measuring enterprise it capability: A total IT capability perspective. Knowledge-Based Systems 24(1): 113 -118.