การพัฒนาทักษะการฟัง-พูดภาษาญี่ปุ่นโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

ผู้แต่ง

  • สุณีย์รัตน์ เนียรเจริญสุข คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คำสำคัญ:

ทักษะการฟัง-พูดภาษาญี่ปุ่น, เทคโนโลยีสารสนเทศ, กลยุทธ์การสื่อสาร, แรงจูงใจ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะการฟังและการพูดของนักศึกษาชาวไทยโดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เป็นเครื่องมือในการศึกษาว่านักศึกษาสามารถพัฒนาทักษะการฟัง-พูดภาษาญี่ปุ่นในการฝึกฝนนอกชั้นเรียนได้หรือไม่อย่างไร ผลการศึกษาพบว่าการสนทนาผ่านโปรแกรมออนไลน์สามารถช่วยพัฒนาทักษะการฟัง-พูดภาษาญี่ปุ่นของนักศึกษาชาวไทยในระดับหนึ่ง และผลที่เห็นได้อย่างชัดเจน คือ สามารถช่วยสร้างแรงจูงใจในการเรียนภาษาญี่ปุ่นอย่างมาก นักศึกษารู้สึกสนุกกับการได้สนทนาและได้แลกเปลี่ยนความคิด วัฒนธรรม กับนักศึกษาชาวญี่ปุ่น นอกจากนี้พบว่า นักศึกษาพยายามสื่อสารด้วยภาษาญี่ปุ่นอย่างเต็มความสามารถด้วยกลยุทธ์ต่างๆ ดังนั้นในการเรียนการสอนการสนทนาภาษาญี่ปุ่นควรคำนึงถึงการฝึกฝนกลยุทธ์ในการสื่อสารในสถานการณ์จริงด้วยคำศัพท์ที่ใช้จริงในชีวิตประจำวันและการนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาประยุกต์ในการพัฒนาทักษะการฟัง-พูดภาษาญี่ปุ่น เพื่อให้นักศึกษาสามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพขึ้น และทำให้นักศึกษารู้สึกสนุกและมีแรงจูงใจในการศึกษาภาษาญี่ปุ่นเพิ่มขึ้น

 

References

กนกวรรณ เลาหบูรณะกิจ คะตะกิริ. (2555). กรอบมาตรฐานภาษาญี่ปุ่น (Japanese Language
Standard) ด้านการพูดและการฟังสำหรับผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นเป็นวิชาเอกใน
สถาบันอุดมศึกษา : กรณีศึกษาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วารสารอักษรศาสตร์. ปีที่ 41(ฉบับที่ 1), หน้า 1-35.
ผกาทิพย์ สกุลครู, พัชราพร แก้วกฤษฎางค์.(2556). วิเคราะห์เนื้อหาความรู้ภาษาญี่ปุ่นใน
หลักสูตรวิชาเอกภาษาญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์: เพื่อมุ่งสู่มาตรฐานสากล.วารสารภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุ่น. ปีที่ 1 (ฉบับที่ 1), หน้า 27-52.
สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (2558). รายงานผลการสำรวจ
บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น ปีการศึกษา 2557.
สุณีย์รัตน์ เนียรเจริญสุข พัชราพร แก้วกฤษฎางค์ และเผ่าสถาพร ดวงแก้ว. (2560). โครงการพัฒนา
ทักษะการฟังพูดภาษาญี่ปุ่นโดยใช้โปรแกรมสไกป์: การสำรวจความคิดเห็นและการประเมินตนเองของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ. วารสารญี่ปุ่นศึกษา. ปีที่ 34(ฉบับที่ 2), หน้า 38-54.
สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.(2558).สรุปผลที่สำคัญ
สำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือนพ.ศ.2558.
สำนักงานสถิติพยากรณ์ สำนักงานสถิติแห่งชาติ.สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2560 จาก
http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/themes/files/icthh58
Krashen, S. (1985).The Input Hypothesis: Issues and Implications. London: Longman.
Levy, M. (2009).Technologies in Use for Second Language Learning.The Modern
Language Journal.Vol. 93, pp.769-782. Retrieved 16 February 2017 from
http://onlinelibrary.wiley.com/wol1/doi/10.1111/j.1540-4781.2009.00972.x/full
Long, M.H. (1980). Input, interaction and second language acquisition. Unpublished.
Ph.D. dissertation, University of California at Los Angeles.
Swain, M. (1985). Communicative Competence: Some roles of comprehensible input and
comprehensible output in its development. In S.M. Gass& C. Madden (Eds.),
Input in Second Language Acquisition. pp. 235-253. Rowley, MA: Newbury
House.
青柳にし紀. (2005).「 「教室外活動」授業報告: 信州大学留学生センター研修コース第8
期において」『信大日本語教育研究』5、pp.36-50.
庵功雄. (2006).「教育文法の観点から見た日本語能力試験」土岐哲先生還暦記念論文集編
委員会編『日本語の教育から研究へ』くろしお出版.
岩本穣志、板井芳江.(2013).「ネイティブスピーカーと長く上手に話すために何が必要か
-日本語の会話能力向上を目的とした交流授業での学生の記録から-」『ポリグロシア』25、pp.117-130.
加藤冨美江、森千加香、スプリングライアン.(2015).「会話能力向上のためのスカイプ利
用の有効性」『第26回第二言語習得研究会(JASLA)全国大会』、pp.28-33.
倉八順子.(2006).「第二言語習得に関わる不安と動機付け」縫部義憲(監修)迫田久美子編
著『講座・日本語教育学 第三巻 言語学習の心理』 (77-94).スリーエーネット
ワーク.
古賀恵美、今村弓子、岩田緑、曽根由香里. (2018).「 文化理解と交流を目的とした教室
外活動で学習者は何を学んだか:―短期滞在日本語学習者を対象とした初級クラスでの実践―」『日本語教育方法研究会誌』24(2)、pp.40-41.
国立国語研究所.(1984).『日本語教育のための基本語彙調査』Retrieved 9 November
2018 from https://mmsrv.ninjal.ac.jp/bvjsl84/
小林明子.(2008).「日本語学習者のコミュニケーション意欲と学習動機の関連」『広島大
学大学院教育学研究科紀要』57、pp.245-253.
小林幸江・何美玲.(2014).「Skypeを使った日本語教育の授業の試み―中国福州大学との
協働実践― 」『東京外国語大学留学生日本語教育センター論集』40、pp.137-152.
斉藤郁恵.(2016).「日本人とのオンライン交流が海外日本語学習者に与える影響― 中国
内陸部で学ぶ大学生の動機づけの変化から―」『南山言語科学』11、pp.39-58.
Chiba Masato (千葉真人) and VannitaYomnak. (2015).「サイアム大学教養学部日本語
コミュニケーション学科の会話主教材の作成方針、流れおよび内容」『国際交流基
金バンコク日本文化センター 日本語教育紀要 』12, pp.37-46.
中俣尚己・岩崎瑠莉恵・萩原知世・中野仁美・山上聡美.(2012).「Skypeを活用した初級
日本語教育プログラム」『實踐國文學』82、pp.26-39.
野田尚史、迫田久美子、渋谷勝巳、小林典子. (2005).『日本語学習者の文法習得』大修館
書店.
深川美帆、鶴町佳子、川上ゆか、岡本さや子.(2015).「初級日本語クラスにおける日本人
学生との『話す活動』について」『金沢大学留学生センター紀要』18、pp.25-43.
升岡香代子.(2016).「活動型授業「自分史スピーチ」の学習動機付けへの有効性 ―二つの
学習者グループを比較して―」『日本語教育研究』62、pp.118-133.
嶺岸玲子.(2009).「Skypeを用いた会話セッションの試み―日本語学習と日本語教育実習
の観点から― 」『日本語教育方法研究会誌』16(1)、pp.56-57.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-27