ปัญหาของผู้สอนภาษาญีปุ่นในการสื่อสารกับผู้สอนภาษาญีปุ่นชาวไทย:การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาจากควรมแตกต่างทางวัฒนธรรม

ผู้แต่ง

  • สุณีย์รัตน์ เนียรเจริญสุข

คำสำคัญ:

การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม, ภาษาญี่ปุ่น, ความเหลื่อมลำ้าของอำานาจ, การหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน

บทคัดย่อ

งานวจิ ยั นมี้ วี ตั ถปุ ระสงคเ์พอื่ ศกึ ษาปญั หาการสอื่ สารขา้ มวฒั นธรรมในบรบิ ทการทาำงานรว่มกนัในสถาน ศกึษาระหวา่งผสู้อนภาษาญปี่นุ่ชาวญปี่นุ่กบัผสู้อนภาษาญปี่นุ่ชาวไทย กลมุ่เปา้หมายคอืผสู้อนชาวญปี่นุ่ทสี่อนอยู่ ในระดบัมธัยมศกึษาและระดบัอดุมศกึษาในประเทศไทยจาำนวน 50 คน เครอื่งมอืทใี่ชใ้นการวจิยัคอืแบบสอบถาม ผลการวิจัยพบว่าผู้สอนชาวญี่ปุ่นกว่าร้อยละ 50 คิดว่าตนเองประสบปัญหาในการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม ปัญหา ที่พบมีทั้งสาเหตุจากความสามารถด้านภาษาและจากวัฒนธรรม งานวิจัยนี้วิเคราะห์เฉพาะปัญหาด้านความ แตกต่างทางวัฒนธรรม กล่าวคือ งานวิจัยนี้ชี้ชัดว่า “ความเหลื่อมลำ้าของอำานาจ” และ “การหลีกเลี่ยงความ ไม่แน่นอนหรือเหตุที่จะก่อให้เกิดความไม่มั่นใจ” เป็นสาเหตุหลักที่ก่อให้เกิดปัญหาระหว่างผู้สอนชาวญี่ปุ่นกับ ชาวไทยงานวจิ ยั นมี้ วี ตั ถปุ ระสงคเ์พอื่ ศกึ ษาปญั หาการสอื่ สารขา้ มวฒั นธรรมในบรบิ ทการทาำงานรว่มกนัในสถาน ศกึษาระหวา่งผสู้อนภาษาญปี่นุ่ชาวญปี่นุ่กบัผสู้อนภาษาญปี่นุ่ชาวไทย กลมุ่เปา้หมายคอืผสู้อนชาวญปี่นุ่ทสี่อนอยู่ ในระดบัมธัยมศกึษาและระดบัอดุมศกึษาในประเทศไทยจาำนวน 50 คน เครอื่งมอืทใี่ชใ้นการวจิยัคอืแบบสอบถาม ผลการวิจัยพบว่าผู้สอนชาวญี่ปุ่นกว่าร้อยละ 50 คิดว่าตนเองประสบปัญหาในการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม ปัญหา ที่พบมีทั้งสาเหตุจากความสามารถด้านภาษาและจากวัฒนธรรม งานวิจัยนี้วิเคราะห์เฉพาะปัญหาด้านความ แตกต่างทางวัฒนธรรม กล่าวคือ งานวิจัยนี้ชี้ชัดว่า “ความเหลื่อมลำ้าของอำานาจ” และ “การหลีกเลี่ยงความ ไม่แน่นอนหรือเหตุที่จะก่อให้เกิดความไม่มั่นใจ” เป็นสาเหตุหลักที่ก่อให้เกิดปัญหาระหว่างผู้สอนชาวญี่ปุ่นกับ ชาวไทย

References

Duangtip Chareonrook Phuenchote & Patcharapa Euamornvanich. (2014). Adjustment of Chinese students in Dhonburi Rajabhat University. Journal of Communication Arts Reviews, 18 (1), July-December 2014. (in Thai) Hofstede, G., Hofstede G.J. & Minkov, M. (2010). Cultures and organizations: Software of the mind. Revised and expanded
3rd edition. New York: The McGraw-Hill Companies. Knutson J.T. (2005). Tales of Thailand: Lesson from the land of smile. Retrieved June 10, 2014, from www.fulbrightthai. org/data/.../TALES%20OF%20THAILAND.doc. Komin, Suntaree. (1991). Psychology of the Thai people: Values and behavioral patterns. Bangkok: National Institute of Development Administration. Sriussadaporn-Charoenngam Nongluck & Fredric M.Jablin. (1999). An exploratory study of communication competence in Thai organizations. Journal of Business Communication, 36, 382-418. 池谷清美、カノックワン ラオハブラナキット片桐、 片桐準二(2012)「タイ国高等教育機関にお けるタイ人教師と日本人教師の協働観の比 較─PAC 分析からの考察─」『国際交流基 金バンコク日本文化センター日本語教育紀 要』9,29-38. 香月祐介(2011)「タイ人教師と日本人教師の役 割分担から生まれる「つながる」動き─タイ 国 R 大学日本語学科を例に─」『国際交流 基金バンコク日本文化センター日本語教育 紀要』8,45-54. 佐久間勝彦(1999)「海外で教える日本人日本語 教師をめぐる現状と課題─タイでの聞き取り 調査結果を中心に─」『世界の日本語教育〈 日本語教育事情報告編〉』5,79-107. 古川裕康(2012)「各文化におけるGBI戦略―の 文化次元を用いた理論的考察―」『経営学 研究論集』36,57-72.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2015-08-19