Buddha and Sunya Symbolic Figures in Trinisinghe

Authors

  • ณัฐธัญ มณีรัตน์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ชานป์วิชช์ ทัดแก้ว คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Abstract

The study of Yantra, which is a fundamental part of mysticism, has existed in Thailand for a long time. Yantra has played significant roles in the lives of Thai people of all classes, as evident in one of the most important literatures – The Tale of Khun Chang Khun Phaen – depicting elements of the structure and the study of mysticism in the past. It is said that studying the treatises of the erasable symbolic figures is the first stage of studying Yantra, beginning with Pathamung and followed by the other four major treatises, as they contain the essential basic knowledge of Yantra systems. Trinisinghe is one of these treatises: it contains the knowledge of numbers, ancient numeral systems, and mathematical notations. A study of Trinisinghe helps us to understand the symbolic figures in Thai Mandala. More importantly, Trinisinghe uses numeral systems to create symbolic figures for illustrating the profound ideas concerning Paramatthadhamma through mathematical methods. Consequently, studying the symbolic figures from this manuscript reveals the ancient beliefs about Buddhist teachings such as Suññatā and Nibbāna. Although the fundamental benefit of studying Yantra is protection against various kinds of danger, the content-related structures and the symbolic figures of Trinisinghe may help us gain greater benefit through the understanding of key Buddhist teachings.

References

เอกสารปฐมภูมิ

คัมภีร์ตรีนิสิงเห. นายพรหม ขมาลา ปริวรรตจากต้นฉบับของพระสมุห์เฉื่อย วัดสังเวช, ๒๔๘๑.

คัมภีร์ตรีนิสิงเห. สมุดไทดำ เส้นหรดาร เลขที่ ๑๕ (ส่วนภาษาโบราณ หอสมุดแห่งชาติ).

คัมภีร์ปถมัง. สมุดไทดำ เส้นหรดาร เลขที่ ๓๐ ม. ๔ (ส่วนภาษาโบราณ หอสมุดแห่งชาติ).

ตำราตรีนิสิงเห. กระดาษฝรั่ง เส้นดินสอ. เลขที่ ๑๖ (ส่วนภาษาโบราณ หอสมุดแห่งชาติ)

พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล. นครปฐม: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๕๙.

พุทธโฆษาจารย์, พระ. คัมภีร์วิสุทธิมรรค ปัญญานิเทส. กรุงเทพฯ : มหามกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๒๒.

พุทธทัตตะ,พระ. อภิธัมมาวตาร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มูลนิธิภูมิพโลภิกขุ, ๒๕๓๐.

มหามกุฎราชวิทยาลัย. มิลินทปัญหา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓.

เอกสารทุติยภูมิ

กรมศิลปากร. เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน. กรุงเทพฯ : ศิลปาบรรณาคาร, ๒๕๑๐.

กวนจือ แซ่ตั้ง. หลักและทฤษฎีฮวงจุ้ย. กรุงเทพฯ : จตุภาค, ๒๕๔๑.

คริสต์ เบเคอร์และผาสุก พงษ์ไพรจิตร เขียน (อาทิตย์ เจียม รัตตัญญู แปล). ปรัมปราคติในขุนช้างขุนแผน พิมพ์เผยแพร่ใน เจ้าพ่อ ประวัติศาสตร์ จอมขมังเวทย์รวมบทความเพื่อเป็นเกียรติในโอกาสครบ ๖๐ ปี ฉลอง สุนทราวาณิชย์. กรุงเทพฯ : ศยาม, ๒๕๕๘.

เทพย์ สาริกบุตร. พระคัมภีร์พระเวทฉบับตติยบรรพ. กรุงเทพฯ : อุตสาหกรรมการพิมพ์, ๒๕๑๒.

ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๕๖.

ราชวรมุนี,พระ. พุทธธรรม. พิมพ์ครั้งที่ ๑๑ กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ บริษัท สหธรรมิก จำกัด, ๒๕๔๔.

วรรณสิทธิ ไวทยะเสวี. คู่มือการศึกษา พระอภิธัมมัตถสังคหะ. กรุงเทพฯ : ทิพยวิสุทธิ์, ม.ป.ป.

วัชระ งามจิตรเจริญ. “นิพพานในพุทธปรัชญาเถรวาท-อัตตาหรืออนัตตา.” วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๓ (กันยายน-ธันวาคม ๒๕๔๔).

เสถียร โพธินันทะ. ปรัชญามหายาน. พิมพ์ครั้งที่ ๔ กรุงเทพฯ : มหามกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๔๑.

Clark, R.T. Rundle. Myth and Symbol in Ancient Egypt. London : Thames and Hudson, 1959.

Mathers, S.Liddell MacGreror. The Greater Key of Solomon Translated from Ancient Manuscripts in The British Museum. London, Ohio : Emperor Norton Book. 1999.

Suzuki, Daisetz Teitaro. Outline of Mahayana Buddhism. Fourth Printing. New York : Schocken Book inc, 1970.

Thorsson, Edred. A Handbook of Rune Magic. Maine : Samuel Weiser, 1992.

Downloads

Published

2018-12-26

How to Cite

มณีรัตน์ ณ., & ทัดแก้ว ช. (2018). Buddha and Sunya Symbolic Figures in Trinisinghe. Journal of Buddhist Studies Chulalongkorn University, 25(3), 8–26. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jbscu/article/view/160976

Issue

Section

Research Articles