Game Show with Localism Empowerment in Thailand

Main Article Content

พิมพ์ชญา ฟักเปี่ยม
อัศวิน เนตรโพธิ์แก้ว

Abstract

This is a cultural study aiming at exposing the concept of the power of localism which has remained being deep-deep-rooted in Thailand’s society. Regarding this, the researcher observed the emergence of localism on a so-called “Game Show” which is a national broadcasting. In the respect of entertainment, television program does not only play a role as an influencer on the audience, it is also a channel that several of “Power of Localism” have been communicated and delivered constantly. Related to this mentioned, solidarity, mutual spirit of localism and integrity of the local are reflected to the public. Accordingly, the researcher expects to stimulate the public concern on existing local cultures. This is, further, to preserve the identity of the local as a local heritage.

Article Details

Section
บทความวิชาการ

References

กะรัตพลอย ถ้ำแก้ว. (2558). กระบวนการผลิตการนำเสนอการสร้างความหมายเชิงสัญญะในรายการเดอะวอยซ์ไทยแลนด์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กาญจนา แก้วเทพ และคณะ. (2545). สื่อบันเทิงอำนาจแห่งความไร้สาระ. กรุงเทพฯ: ออลอเบ้าท์พริ้นท์.

กาญจนา แก้วเทพ. (2547). การวิเคราะห์สื่อ แนวคิด และเทคนิค. กรุงเทพฯ: แบรนด์เอจ จำกัด.

กาญจนา แก้วเทพ และคณะ. (2551). การจัดการความรู้เบื้องต้นเรื่องการสื่อสารชุมชน. กรุงเทพมหานคร: ภาพพิมพ์.

กุลวิชญ์ สำแดงเดช. (2551). การใช้สื่อเพื่อสร้างและธำรงรักษาอัตลักษณ์ของแฟนสโมสรฟุตบอลจังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชาลินี สนพลาย.(15 มิถุนายน 2561). ท้องถิ่นนิยม ชาตินิยม เรียนรัฐศาสตร์ผ่านลูกกลมๆ ที่เรียกว่าฟุตบอล. เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2561. สืบค้นจากhttps://waymagazine.org/a-little-ball-to-the-big-world-nation-people

ทัศน์วศิน ธูสรานนท์ และพรพรรณ ประจักษ์เนตร. (2560). พัฒนาการในการสื่อสารของเพลงลูกทุ่งผ่านการเล่าเรื่องตามค่านิยมของสังคมไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน.วารสารนิเทศศาสตร์และนวัตกรรม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 4(2), 1-30.

ธนิกาญจน์ จินาพันธ์. (2552). โลกภิวัตน์วัฒนธรรม : สื่อกับท้องถิ่นในวรรณกรรมไทยร่วมสมัย.วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฏีบัณฑิต. คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

น้ำทิพย์ พรหมเพ็ชร และบุหงา ชัยสุวรรณ. (2560). การนำเสนอเรื่องเพศ ภาษา ความรุนแรงและภาพตัวแทนในรายการเกมโชว์ทางโทรทัศน์ดิจิทัล. วารสารนิเทศศาสตร์และนวัตกรรม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. 4(2) ,25-36.

ประกายกาวิล ศรีจินดา. (10 เมษายน 2560). การสื่อสารการตลาดของสถานีโทรทัศน์ดิจิตอลระยะเริ่มต้นในประเทศไทย. สืบค้นจาก http://teacher.ssru.ac.th/prakaikavin_sr/file.php.

พรเทพ เซ่งรักษา. รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบลหูล่อง จังหวัดนครศรีธรรมราช. (30 เมษายน 2561). สัมภาษณ์.

พัฒนา กิตติอาษา. (2546). ท้องถิ่นนิยม:การทบทวนทฤษฏีและกรอบแนวคิด.กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ.

วิทยา เกษรพรหม. (2560). พลวัตเพลงลูกทุ่ง: นวัตกรรมแห่งท้องถิ่น. เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2560. สืบค้นจาก https://www.gotoknow.org/posts/444978.

สมสุข หินวิมาน. (2548). ทฤษฏีการสื่อสารกับโลกาภิวัตน์ ปรัชญานิเทศศาสตร์และทฤษฎีการสื่อสาร.นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สุขหทัย ปิโยบล. (2556). การรับรู้และทัศนคติของผู้ชมรายการกิ๊กดู๋สงครามเพลงเงินล้าน. งานวิจัยค้นคว้าอิสระ ปริญญามหาบัณฑิต. คณะศิลปะศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

ศิริพร กรอบทอง. (2547). วิวัฒนาการเพลงลูกทุ่งในสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์พันธกิจ.

อัศวิน เนตรโพธิ์แก้ว. (2546). สื่อสันนิวาส. ปทุมธานี: นาครมีเดีย.

อัศวิน เนตรโพธิ์แก้ว. (2561). สื่อศาสตร์.ปทุมธานี: นาครมีเดีย.


Morley David. (1992).Television Audiences and Cultural Studies. New York: Routledge.

Mitchell Leonard Jame. (2015).Luk Thung :The Culture and Politics of Thailand’s Most Popular Music.Chiang Mai :Silkworm books.

M.Napoli PhIlip.(2007).Media Diversity and Localism: meaning and metrics. New York:Routledge.

Metykova Monika.(2016).Diversity and The Media. New York: Macmillan Education Palgrave.