การทบทวนความรู้ “ชายรับชาย” ในพื้นที่ของสื่อใหม่

ผู้แต่ง

  • ว่าที่ร้อยตรีเบญจรงค์ ถิระผลิกะ มหาวิทยาลัยนเรศวร

คำสำคัญ:

ชายรับชาย, สถานภาพองค์ความรู้, สื่อใหม่

บทคัดย่อ

                  บทความชิ้นนี้ผู้เขียนจะกล่าวถึงส่วนประกอบต่างๆ ของเนื้อหาว่า จะประกอบด้วยการนิยามความหมายของคำว่า “ชายรับชาย” การมีอยู่ของสถานะภาพความรู้เรื่อง “ชายรับชาย” มีการศึกษาเรื่อง “ชายรับชาย” ในสื่อใหม่อย่างไรบ้าง การแสวงหาพื้นที่เสมือนเพื่อสร้างชาติพันธุ์ในพื้นที่จริง และสุดท้ายจะกล่าวถึงบทสรุปของการทบทวนชุดความรู้เกี่ยวกับการสื่อสารประเด็น “ชายรับชาย” ในสังคมไทย โดยที่การทบทวนองค์ความรู้ครั้งนี้ก็เพื่อเป็นการนำร่องเพื่อให้คนที่สนใจสามารถเปิดแง่มุมใหม่ๆ ที่จะต่อยอดในการศึกษา อีกทั้งยังพัฒนาองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาสื่อใหม่และ “ชายรับชาย” ที่ขยับขยายมิติ ของการศึกษาเชิงบูรณาการความคิด เพื่อให้สังคมมีความเข้าใจในมิติความแตกต่าง เรื่องความต้องการทางเพศที่หลากหลายในยุคปัจจุบัน

References

กนกวรรณ ธราวรรณ (2555), “รัฐไทยกับชีวิตคู่แบบเพศวิถีนอกขนบ”, ใน กุลภา วจนสาระ และกฤตยา อาชวนิจกุล (บ.ก.), ประชากรและสังคม 2555: ประชากรชายขอบและความเป็นธรรมในสังคมไทย, นครปฐม: สำนักพิมพ์ประชากรและสังคม.

กาญจนา แก้วเทพ และนิคม ชัยขุนพล (2555), คู่มือสื่อใหม่ศึกษา, กรุงเทพฯ: โครงการเมธีวิจัยอาวุโส ฝ่ายวิชาการ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

กานต์ ศรีมหาเลิศ (2548), การสื่อสารของกลุ่มรักร่วมเพศในสังคมไทย, วิทยานิพนธ์ปริญญาวารสารศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

กำจร หลุยยะพงศ์ (2558), “ก้าวที่ผ่านมาและก้าวต่อไปของการสื่อสารชุมชน: ตอนที่ 2 การศึกษาการสื่อสารชุมชนในรูปแบบใหม่”, วารสารนิเทศศาสตร์และนวัตกรรม นิด้า, (2): 1-30.

กิ่งรัก อิงคะวัต (2542), รูปแบบการดำเนินชีวิต พฤติกรรมการบริโภค และพฤติกรรมการเปิด รับสื่อของกลุ่มชายรักชาย (เกย์) ในเขตกรุงเทพมหานคร, วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จตุพร บุญ-หลง (2548), ชีวิตติดเบอร์: ตัวตนและเพศวิถีของเกย์ "ควิง" ในเซานา M, วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

จเร สิงหโกวิน (2560), “ถอดผ้าขายร่างในละครสาววาย”, ใน นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ (บ.ก.), ชุดสังคม-วัฒนธรรมร่วมสมัย ลำดับที่ 6 เมื่อร่างกลายเป็นเพศ อำนาจเสรีนิยมใหม่ของเพศวิถีในสังคมไทย, กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์กรมหาชน).

เจริญวิทย์ ฐิติวรารักษ์ (2544), การสร้างสารสนเทศและภาพตัวแทนของชายรักชายในเว็บไซต์ไทย, วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชญาณัฐฏสัสร์ ซ่อนกลิ่น (2556), วิถีชีวิตชายขายตัวในบาร์เกย์ย่านสุรวงศ์ กรุงเทพมหานคร, วิทยานิพนธ์ปริญญาพัฒนสังคมศาสตรมหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ชินวร ฟ้าดิษฐี (2556), “เว็บไซต์เกย์: พื้นที่สาธารณะสำหรับคนชายขอบ”, ดำรงวิชาการ, 8 (1): 81-101.

ชูชาติ สิงห์เปี่ยม (2548), การวิเคราะห์เนื้อหาและการปฏิสัมพันธ์ผ่านเว็บไซต์ชายรักชาย, วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

โชคชัย ปรีชาหาญ (2540), วิถีชีวิตของชายรักร่วมเพศ: ศึกษาเฉพาะกรณี ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก, วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยนเรศวร.

ไชยศิริ บุญยกุลศรีรุ่ง (2553), เพศสภาพและเพศวิถีชายรักชายในภาพยนตร์ไทย, วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ฐิติวัฒน์ สมิตินันทน์ (2555), การสร้างตัวละครเพศที่สามในภาพยนตร์ไทย, วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณนุช คำทอง (2546), การสมรสของพวกรักร่วมเพศ, วิทยานิพนธ์ปริญญานิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ทศวร มณีศรีขำ (2554), การสร้างความเป็นอื่นให้กับเกย์, วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.

ธีระ บุษบกแก้ว (2553), กลวิธีทางภาษากับการนำเสนออัตลักษณ์ของตนเองโดยกลุ่มเกย์ออนไลน์, วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ (2553), ขบวนการเคลื่อนไหวของเกย์ในสังคมไทย ภาคปฏิบัติการและกระบวนทัศน์, วิทยานิพนธ์ปริญญาสังคมสงเคราะห์ศาสตรดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

นิธิวัธน์ เตมะวัธนานนท์ (2557), การสร้างความฉลาดรู้เรื่องเพศของอาจารย์ชายรักชายในสถาบันอุดมศึกษา, วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.

เนติ สุนทราวราวิทย์ (2553), การสร้างความหมายและตัวตน “เกย์” ในพื้นที่แห่งความจริงและพื้นที่ไซเบอร์, วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

บงกชมาศ เอกเอี่ยม (2532), เกย์: กระบวนการพัฒนาและธำรงเอกลักษณ์รักร่วมเพศ, วิทยานิพนธ์ปริญญาสังคมวิทยามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

บุษกร สุริยสาร (2557), อัตลักษณ์และวิถีทางเพศในประเทศไทย องค์การแรงงานระหว่างประเทศ ประจำประเทศไทย กัมพูชา และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว: โครงการส่งเสริมสิทธิ ความหลากหลาย และความเท่าเทียมในโลกของการทำงาน (PRIDE), กรุงเทพฯ: องค์การแรงงานระหว่างประเทศ.

บญจรงค์ ถิระผลิกะ (2559), ปัจจัยที่สนับสนุนการสร้างสรรค์เนื้อหาเพศนอกกรอบในภาพยนตร์เรื่อง “รักแห่งสยาม” ของ มะเดี่ยว ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล, วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตร มหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

________. (2560ก), “ชายรับชาย: ความสัมพันธ์ของชุมชนในทวิตเตอร์”, วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 5 (2): 69-80.

________. (2560ข), “นักสร้างสรรค์การตลาดในยุคเรืองของเพศนอกกรอบ”, วารสารการสื่อสารมวลชน, 5 (2): 143-155.

________. (2560ค), “ปัจจัยที่เอื้อต่อการสร้างภาพยนตร์เรื่องรักแห่งสยาม”, วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 28 (1): 140-146.

________. (กำลังจัดพิมพ์), “เมื่อสื่อพยายาม “ปรุง” เรื่องเพศให้เป็นสินค้า”, วารสารกรุงเก่า มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

ประภาศรี จีระยิ่งมงคล (2549), เกิดมาเพื่อเป็นเกย์, กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ปาณิสรา มงคลวาที (2550), การนำเสนอภาพกลุ่มชายรักชายในภาพยนตร์ไทยปี พ.ศ. 2550, วิทยานิพนธ์ปริญญาวารสารศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พจนา ธูปแก้ว (2547), การสื่อสารเพื่อสิทธิในการมีส่วนร่วมทางการเมืองของกลุ่มผู้รักร่วมเพศชาย: กรณีศึกษาเปรียบเทียบประเทศไทยและเยอรมัน, วิทยานิพนธ์ปริญญาวารสารศาสตรดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พจมาน มูลทรัพย์ (2551), เรื่องเล่าของเกย์ในชุมชนวรรณกรรมออนไลน์: กรณีศึกษากลุ่ม, วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พิมพวัลย์ บุญมงคล และคณะ (2551), เพศวิถีในสื่อนิยม: บริบทเสี่ยงและเสริมต่อสุขภาวะทางเพศ, กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.

เพ็ญมาส กำเหนิดโทน (2528), การยอมรับของครูต่อนักเรียนเกย์: กรณีศึกษาข้าราชการครูโรงเรียนมัธยมศึกษาในกรุงเทพมหานคร 6 โรงเรียน, วิทยานิพนธ์ปริญญาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ยุทธนา สุวรรณประดิษฐ์ (2543), สิทธิและเสรีภาพของรักร่วมเพศชายตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ: วิเคราะห์จากปัญหาของสังคมไทย, วิทยานิพนธ์ปริญญานิติศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

รัตนกร รัตนชีวร (2556), ผลของกลุ่มการปรึกษาเชิงจิตวิทยาเพื่อยืนยันความเป็นตัวตนของชายรักชายต่อความรู้สึกด้อยค่าจากการรักเพศเดียวกันของชายรักชาย, วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เรข์ณพัศ ภาสกรณ์ (2554) รูปแบบการดำเนินชีวิต พฤติกรรมการบริโภค และการเปิดรับสื่อของชายรักชายในเขตกรุงเทพมหานคร, วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิลาสินี พิพิธกุล และกิตติ กันภัย (2549), โครงการวิจัยเพศและการสื่อสารในสังคมไทย ระยะที่สอง:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์, กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

สิรภพ แก้วมาก (2556), การกำหนดตัวละครเพศทางเลือกชายรักชายในซิทคอม, วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุธรรม ธรรมรงค์วิทย์ (2548), อำนาจและการขัดขืน: ชายรักชายในสังคมที่ความสัมพันธ์ต่างเพศเป็นใหญ่, วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อนุชา พิมศักดิ์ (2560), SOTUS พี่ว้ากตัวร้ายกับนายปีหนึ่ง: การประกอบสร้างอัตลักษณ์เพศนอกกรอบ ในนวนิยายรักวัยรุ่นแนววาย, วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

อภิญญา เฟื่องฟูสกุล (2546), อัตลักษณ์: การทบทวนทฤษฎีและกรอบแนวคิด, กรุงเทพฯ: คณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ สาขาสังคมวิทยา สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

อภิญญา เสียงสืบชาติ (2552), การพัฒนาเว็บท่าสำหรับสังคมเกย์ชาวไทย, วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

Bandura, A. (1977), Social Learning Theory, Oxford: Prentice-Hall.

Green, E. and Maurer, L. (2015), The Teaching Transgender Toolkit: A Facilitator's Guide to Increasing Knowledge, Decreasing Prejudice & Building Skills, Planned Parenthood of the Southern Finger Lakes.

Jackson, P. (1995), Dear Uncle Go: Male Homosexuality in Thailand, Bangkok: Bua Luang Books.

McQuail, D. (2010), McQuail's Mass Communication Theory, LA: Sage.

Rogers, E. (1986), Communication Technology (Vol. 1), NY: Simon and Schuster.

Savin-Williams, R. (2017), Mostly Straight: Sexual Fluidity among Men, Cambridge: Har-vard University Press.

สื่อออนไลน์
นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ (2556), พื้นที่ของเพศนอกกรอบในสังคมไทยในมิติการเมืองและวัฒนธรรม, สืบค้นเมื่อ 7 กุมภาพันธ์ 2561 จาก https://www.sac.or.th/main/content_detail.php?content_id=733

Altman D. (1996), “On Global Queering”, Australian Humanities, retrieved 7 February 2018 from https://www.australianhumanitiesreview.org/archive/Issue-July-1996/altman.html?ref=Sex%C5%9Ehop.com.

PPTV online (2560), “วัยรุ่นแห่เล่น “ทวิตเตอร์” ควบคู่ “เฟซบุ๊ก” เพื่อหนีพ่อแม่”, สืบค้นเมื่อ 7 กุมภาพันธ์ 2561จาก https://www.pptvhd36.com/news

THOTH ZOCIAL (2560), “สรุปเทรนด์โซเชียลมีเดียจากงาน Thailand Zocial Award 2017”, สืบค้นเมื่อ 7 กุมภาพันธ์ 2561 จาก https://www.trendy2.mobi/2017/05/thailand-zocial-award-2017/

Time (2017), “Why ‘Mostly Straight’ Men Are a Distinct Sexual Identity”, retrieved 7 February 2018 from https://www.time.com/5026092/mostly-straight-sexual-identity-bisexual-gay/

Downloads

เผยแพร่แล้ว

02-11-2018