บทบาทและศักยภาพของคนพิการทางสายตาที่ถูกนำเสนอผ่านรายการโทรทัศน์ “Blind Date”

Main Article Content

กันตภณ พุ่มประดับ
ประภัสสร จันทร์สถิตย์พร

Abstract

This qualitative research aimed to explore 1) the guidelines of creating a television program that promotes the roles and potential of visually-impaired people, 2) the role and potential of those people that were on the show Blind Date, and 3) the perception and attitudes of the viewers of this program. The research was conducted through in-depth interviews, textual analysis and focus group.


The findings revealed that Blind Date was a combination of documentary and reality program presenting the life of a visually-impaired person through the perspective of a celebrity. They met on a date and exchanged ideas about a visually-impaired person’s way of life. The selection of issues to be presented in the program was based on whether he/she had a similar background as a guest so that they can do deepen their understanding. The textual analysis of the roles and potential of the visually-impaired people which is the highest frequency is the learning and perception potential. In addition, it was found that the roles of these visually-impaired were well aware of role and potential of the visually-impaired people. The viewers like the host and the guest that had a similar background, providing the viewers with deeper understanding of the issues presented. They suggested that the producers should incorporate audio description into the program so that viewers at all level could access it.

Article Details

Section
Articles
Author Biographies

กันตภณ พุ่มประดับ

กันตภณ พุ่มประดับ (นศ.ม., คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559; อีเมล: [email protected]) และ

ประภัสสร จันทร์สถิตย์พร, วาทวิทยาและสื่อสารการแสดง คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประภัสสร จันทร์สถิตย์พร (นศ.ด., คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554) ปัจจุบันดำรงตำแหน่งอาจารย์ประจำภาควาทวิทยาและสื่อสารการแสดง คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

References

ภาษาไทย
กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ. (2558). รายงานสถานการณ์คนพิการ. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://dep.go.th/th/news/รายงานข้อมูลสถานการณ์ด้านคนพิการในประเทศไทยประจำเดือนตุลาคม 2558 [18 พฤศจิกายน 2558]
กาญจนา แก้วเทพ. (2552). สื่อสารมวลชน ทฤษฎีและแนวทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัดการพิมพ์.
ขนิษฐา เทวินทรภักติ. (2541). แผ้วถางทางการฟื้นฟูสมรรถภาพสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของคนพิการ. กรุงเทพฯ: กรมประชาสงเคราะห์.
ชยพล สุทธิโยธิน. (2539). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิทยุโทรทัศน์. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรมมาธิราช.
ชลิตา ซื่อตรง. (2550). การเข้าถึงและการใช้ประโยชน์จากสื่อสารสนเทศบนอินเตอร์เน็ตของผู้พิการทางสายตาในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2545). รูปแบบการจัดการเรียนแบบร่วมมือรวมพลัง: การพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิการโดยครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วม. วารสารครุศาสตร์. ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 (พ.ย.-ก.พ. 2545): 149-151.
พรพิสุทธิ์ ศรีธรานนท์. (2552). บทบาทและกระบวนการให้สถานภาพแก่บุคคลและสถาบันในรายการตลาดสดสนามเป้า. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิทยา วรรณศิริ. (2529). บทบาทที่คาดหวังและบทบาทที่เป็นจริงของคณะกรรมการพัฒนาสตรีระดับหมู่บ้านและเจ้าหน้าที่ระดับอำเภอในจังหวัดเชียงราย.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ไวยวุฒิ วุฒิอรรถสาร. (2549). การศึกษาคำบรรยายที่เหมาะสมสำหรับการรับรู้ภาพยนตร์ของคนหูหนวก. วารสารศาสตรมหาบัณฑิต. คณะวารสารศาสตร์และการสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สุกัญญา เพียรธุรกิจ. (2539). การเปิดรับชทรายการโทรทัศน์สำหรับสตรีกับการรับรู้ประโยชน์และการนำไปใช้เพื่อการเสริมสร้างบทบาทที่สร้างสรรค์ของตนเองในสตรี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุชา จันทร์เอม. (2525). จิตวิทยาเด็กพิเศษ. กรุงเทพมหานคร. ห้างหุ้นส่วนจำกัด อักศรบัณฑิต.
สุรัตน์ ตรีสุกล. (2546). หลักนิเทศศาสตร์. กรุงเทพฯ: คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา.
สำนักคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์. (2556). ผู้ที่มีข้อจำกัดทางด้านร่างกายจะเข้าถึงสื่อได้อย่างไร. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://bcp.nbtc.go.th/knoewdge/detail/360 [15 ธันวาคม 2558]
สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ. (2559).
การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิของคนพิการให้เข้าถึงหรือรับรู้และใช้ประโยชน์จากรายการของกิจการโทรทัศน์. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://bcp.nbtc.go.th/news/detail/2632 [19 กุมภาพันธ์ 2559]
อริยา จินตพานิชการ. (2548). เรียลลิตี้ฟีเวอร์. กรุงเทพฯ: กันตนา พับบิชชิ่ง
อุบลศรี รัตนภพ. (2554). แนวทางการพัฒนารูปแบบสื่อใหม่สำหรับผู้พิการทางการมองเห็นในกลุ่มเจเนอเรชันวาย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อุษณีย์ ศิริสุนทรไพบูลย์. (2552). หลักการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย