ค่านิยมดิจิทัลกับพฤติกรรมด้านการสื่อสารออนไลน์ของเด็กและเยาวชนไทย

Main Article Content

ฑิตยา ปิยภัณฑ์
พิรงรอง รามสูต

Abstract

This research has the following objectives: to study the use behavior of online social media by Thai students; to study communication behavior through online social media of children youth with different socio-economic factors, and to study relationship between digital values of the students and their communication behaviors related to communication rights and to their self-expression. The study uses survey research based on self-administered questionnaires collected from 547 samples, in-depth interview with 20 students who are regular users of online social media, and key information interviews with five experts in the area of children and online social media usage. Results shows that 31.7 percent of the studied samples own a smart phone and Facebook is ranked first in terms of application used (27.8 percent). Most of studied samples use online social media every day (81.9 percent) and 47.7 percent spend more than three hours a day on this application. Their most frequently reported purpose in using online social media is to communicate with their circle of friends (19.2 percent). As for their digital values, the samples are found to register a high score for these following values – freedom, integrity, collaboration, entertainment, and innovation. Meanwhile, they report a medium score for self-obsession value.
Based on in-depth interviews conducted, it could be analyzed that intense and continued use of online media by Thai children and youth have opened up new learning space. These have incubated new values akin to their counterparts in the West who are also frequent users of online media. However, cultural environment and family upbringing in Thai society may have also influenced some youngsters to retain their Thai cultural attributes that stand in the way of western assimilation.

Article Details

Section
Articles
Author Biographies

ฑิตยา ปิยภัณฑ์

ฑิตยา ปิยภัณฑ์ (นศ.ม., จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556) 

พิรงรอง รามสูต, คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

พิรงรอง รามสูต (Ph.D. (Communication Studies Simon Fraser University, 2000) ปัจจุบันดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

References

ภาษาไทย
กาญจนา แก้วเทพ. (2555). คู่มือสื่อใหม่ศึกษา. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
___. (2551). สายธารนักคิดทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การเมืองกับสื่อสารศึกษา. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
เข็มพร วิรุณราพันธ์. (2557). ผู้จัดการแผนงานสื่อสร้างสุขภาวะเยาวชน (สสย.) สัมภาษณ์, 28 กุมภาพันธ์.
ชนัญสรา อรนพ ณ อยุธยา. (2549). การใช้ประโยชน์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการแสวงหาและการเรียนรู้จริยธรรมของเยาวชน, วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ฐิติพร ตั้งไตรธรรม. (2548). การวัดค่านิยมและลักษณะการยอมรับนวัตกรรมของวัยรุ่นไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการโฆษณา คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ธนยศ ศิริดำรงศักดิ์. (2552). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะเด่น ความพึงพอใจในชีวิตและความพึงพอใจในการทำงานของคนงานไทยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ธาตรี ใต้ฟ้าพูล. ดร. อาจารย์ประจำภาควิชาการประชาสัมพันธ์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สัมภาษณ์, 5 มีนาคม 2557.
พวงผกา คุโรวาท. (2539). ศิลปวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: รวมสาส์น.
พรพิมล เจียมนาครินทร์. (2539). “ความสนใจของวัยรุ่น.” พัฒนาการของวันรุ่น.
มานะ ตรีรยาภิวัฒน์, ดร. อาจารย์สาขาวิชาวารสารศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, สัมภาษณ์, 7 มีนาคม 2557.
โวฟกัง เบเนเด็ค และ มินนา นิโคโลวา. (2549). ความเข้าใจในสิทธิมนุษยชน: คู่มือการศึกษาสิทธิมนุษยชน บรรณาธิการ; บรรณาธิการแปล: สุริชัย หวันแก้ว และ กนกพรรณ อยู่ชา. กรุงเทพฯ: กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.
ศูนย์วิจัยนวัตกรรมอินเทอร์เน็ตไทย. “จัดอันดับเวบ” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://truehits.net/index_ranking.php. [10 สิงหาคม 2557]
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). รายงานการวิจัยประเมินผลคุณธรรม 8 ประการของผู้เรียน: เจตคติและพฤติกรรม กรุงเทพฯ: บริษัท เพลิน สตูดิโอ จำกัด.
อาทิตย์ สุริยะวงศ์กุล, ผู้ประสานงานเครือข่ายพลเมืองเน็ต, สัมภาษณ์, 26 กุมภาพันธ์ 2557.

ภาษาอังกฤษ
Tapscott, D. (2008). Grown Up Digital Hoe the Next Generation is Changing Your World. New York: McGaw-Hill.
Yong Zhao. (2012). Wei Qiu, and Naiyi Xie. “Social Networking, Social Gaming, Texting.” Handbook of children and the media, 102. Los Angeles: SAGE.